กช อ่านว่า กด แปลว่า ดอกบัว
กชอินทร์ อ่านว่า กด-ชะ-อิน แปลว่า ดอกบัวใหญ่
กณิกนันต์ อ่านว่า กะ-นิก-นัน แปลว่า ละเอียดยิ่ง
กตตน์ อ่านว่า กิด แปลว่า การแสดง การรายงาน
กตัญญู อ่านว่า กะ-ตัน-ยู แปลว่า ผู้รู้คุณคนอื่น
กนต์ธร อ่านว่า กน-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งสิ่งที่เป็นที่รัก
กนธี อ่านว่า กน-ที แปลว่า ทะเล มหาสมุทร
กรกช อ่านว่า กอ-ระ-กด แปลว่า ไหว้
กรกฎ อ่านว่า กอ-ระ-กด แปลว่า ปู
กรชวัล อ่านว่า กอน-ชะ-วัน แปลว่า รุ่งเรืองด้วยรัศมี มีรัศมีรุ่งเรือง
กรณ์ อ่านว่า กอน แปลว่า การกระทำ
กรดล อ่านว่า กอ-ระ-ดน แปลว่า ฝ่ามือ
กรวิก อ่านว่า กะ-ระ-วิก แปลว่า นกการเวก
กรวิชญ์ อ่านว่า กอ-ระ-วิด แปลว่า ความรุ่งเรืองของปราชญ์
กรวีร์ อ่านว่า กอ-ระ-วี แปลว่า กล้าหาญในการทำงาน
กรองเกียรติ อ่านว่า กรอง-เกียรติ แปลว่า เส้นทางแห่งเกียรติยศ
กริช อ่านว่า กรด แปลว่า หลักแหลม
กรินทร์ อ่านว่า กริน แปลว่า จอมช้าง พญาช้าง
กฤดาการ อ่านว่า กริ-ดา-กาน แปลว่า บารมีอันยิ่งที่ได้ทำไว้
กฤต อ่านว่า กริด แปลว่า กระทำแล้ว
กฤตชญา อ่านว่า กริด-ชะ-ยา แปลว่า ผู้รู้ในสิ่งที่กระทำแล้ว
กฤตชยา อ่านว่า กริด-ชะ-ยา แปลว่า กระทำชนะแล้ว
กฤตชัย อ่านว่า กริด-ไช แปลว่า กระทำชนะแล้ว
กฤตนัย อ่านว่า กริด-ตะ-ไน แปลว่า ผู้มีนโยบายดี มีวิธีแนะนำดี
กฤตนู อ่านว่า กริด-ตะ-นู แปลว่า ช่าง ศิลปิน
กฤตย์ อ่านว่า กริด แปลว่า ควรกระทำ หน้าที่การงาน
กฤตยชญ์ อ่านว่า กริด-ตะ-ยด แปลว่า นักปราชญ์ผู้คงแก่เรียน
กฤตวิทย์ อ่านว่า กริด-ตะ-วิด แปลว่า ผู้เรียนวิชาจบแล้ว
กฤตัชญ์ อ่านว่า กริ-ตัด แปลว่า ผู้รู้คุณคนอื่น มีความกตัญญู
กฤตานน อ่านว่า กริ-ตา-นน แปลว่า ผู้ชำนาญยิ่ง
กฤตานนท์ อ่านว่า กริ-ตา-นน แปลว่า ผู้ชำนาญยิ่ง
กฤติกา อ่านว่า กริด-ติ-กา แปลว่า ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มดาวลูกไก่
กฤติเดช อ่านว่า กริด-ติ-เดด แปลว่า ผู้มีอำจาจและมีความสร้างสรรค์
กฤติธี อ่านว่า กริด-ติ-ที แปลว่า นักปราชญ์
กฤติน อ่านว่า กริด-ติน แปลว่า ผู้คงแก่เรียน
กฤาณากร อ่านว่า กริด-สะ-นา-กอน แปลว่า กระทำด้วยไม้เนื้อหอมมีสีดำ
กลวัชร อ่านว่า กน-ละ-วัด แปลว่า ดุจดังเพชร
กวิน อ่านว่า กะ-วิน แปลว่า ดี
กวินท์ อ่านว่า กะ-วิน แปลว่า จอมกวี
กวีวัธน์ อ่านว่า กะ-วี-วัด แปลว่า กวีผู้เจริญ
ก่อ อ่านว่า ก่อ แปลว่า ทำให้เกิด/มี/เป็นรูปขึ้น
ก่อการ อ่านว่า ก่อ-กาน แปลว่า ริเริ่มให้เกิดมีขึ้น
ก่อเกียรติ อ่านว่า ก่อ-เกียด แปลว่า สร้างเกียรติ
ก้อง อ่านว่า ก้อง แปลว่า ดังกังวาน
ก้องกิดากร อ่านว่า ก้อง-กิ-ดา-กอน แปลว่า เสียงสรรเสริญอันกึกก้อง
กังวาน อ่านว่า กัง-วาน แปลว่า มีกระแสเสียงก้องและแจ่มใจ
กัญจน์ อ่านว่า กัน แปลว่า ทอง
กัณฑ์อเนก อ่านว่า กัน-อะ-เนก แปลว่า ผู้มีทรัพย์นับไม่ถ้วน
กัตติกา อ่านว่า กัด-ติ-กา แปลว่า ดาวลูกไก่
กัทลี อ่านว่า กัด-ทะ-ลี แปลว่า กล้วย
กันต์ อ่านว่า กัน แปลว่า น่ารัก น่าพอใจ
กันต์กวี อ่านว่า กัน-กะ-วี แปลว่า กวีผู้น่ารัก
กันต์ธร อ่านว่า กัน-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งเป็นที่รัก
กันต์ธีร์ อ่านว่า กัน-ที แปลว่า นักปราชญ์ผู้น่ารัก
กันตวิชญ์ อ่านว่า กัน-ตะ-วิด แปลว่า ผู้มีความรู้เป็นที่น่าพอใจ
กันติทัต อ่านว่า กัน-ติ-ทัด แปลว่า ผู้ให้ความรัก ผู้ให้ความพอใจ
กันตินันท์ อ่านว่า กัน-ติ-นัน แปลว่า ยินดีในความรัก
กันทรากร อ่านว่า กัน-ทรา-กอน แปลว่า ภูเขา
กาจน์ อ่านว่า กาด แปลว่า ป้อมปราการ
กาณฑ์ อ่านว่า กาน แปลว่า ลูกศร ลำต้นของต้นไม้ ตอนหนึ่งของหนังสือ
กานต์ อ่านว่า กาน แปลว่า น่ารัก น่าพึงพอใจ
กานตรัตน์ อ่านว่า กาน-ตะ-รัด แปลว่า ผู้ที่น่ารัก
กายวุธ อ่านว่า กาย-ยา-วุด แปลว่า ใช้ร่างกายเป็นเครื่องป้องกัน
การัณย์ อ่านว่า กา-รัน แปลว่า หน้าที่การงาน
การันต์ อ่านว่า กา-รัน แปลว่า หน้าที่การงาน
การิต อ่านว่า กา-ริด แปลว่า ให้กระทำแล้ว สั่งให้คนอื่นกระทำแล้ว
การิน อ่านว่า กา-ริน แปลว่า ผู้สร้าง ผู้กระทำ
การุณ อ่านว่า กา-รุน แปลว่า ความกรุณา
กำจร อ่านว่า กำ-จอน แปลว่า ฟุ้งไป
กำชัย อ่านว่า กำ-ไช แปลว่า ผู้มีชัยชนะอยู่ในตัวเอง
กำธร อ่านว่า กำ-ทอน แปลว่า สนั่น
กิจจา อ่านว่า กิด-จา แปลว่า เรื่องราว
กิตตน์ อ่านว่า กิด แปลว่า การแสดง
กิตติ อ่านว่า กิด-ติ แปลว่า คำเล่าลือ
กิตติกวิน อ่านว่า กิด-ติ-กะ-วิน แปลว่า งามด้วยเกียรติ
กิตติกานต์ อ่านว่า กิด-ติ-กาน แปลว่า ผู้มีชื่อเสียงดีงาม
กิตติคุณ อ่านว่า กิด-ติ-คุน แปลว่า ผู้มีคุณที่เลื่องลือ
กิตติชัย อ่านว่า กิด-ติ-ไช แปลว่า ผู้มีชัยชนะเป็นเกียรติยศ
กิตติเดช อ่านว่า กิด-ติ-เดด แปลว่า มีชื่อเสียงในด้านความสามารถ
กิตติทัต อ่านว่า กิด-ติ-ทัด แปลว่า ผู้ให้เกียรติ ผู้ให้ชื่อเสียง
กิตติธร อ่านว่า กิด-ติ-ทอน แปลว่า ทรงเกียรติ
กิตติธัช อ่านว่า กิด-ติ-ทัด แปลว่า มีชื่อเสียงปรากฏ
กิตตินันท์ อ่านว่า กิด-ติ-นัน แปลว่า ยินดีในชื่อเสียง
กิตติยุทธ อ่านว่า กิด-ติ-ยุด แปลว่า การรบที่มีชื่อเสียง
กิตติวัฒน์ อ่านว่า กิด-ติ-วัด แปลว่า เจริญด้วยเกียรติ
กิตติวินท์ อ่านว่า กิด-ติ-วิน แปลว่า ผู้ได้รับเกียรติ ผู้มีเกียรติ
กิติชัย อ่านว่า กิ-ติ-ไช แปลว่า ชนะด้วยเกียรติ
กิตินันท์ อ่านว่า กิ-ติ-นัน แปลว่า เพลิดเพลินในเกียรติ
กีรติ อ่านว่า กี-ระ-ติ แปลว่า ผู้มีเกียรติ
กีรติกา อ่านว่า กี-ระ-ติ-กา แปลว่า ผู้มีเกียรติ
กุณช์ อ่านว่า กุน แปลว่า งาช้าง บรรณศาลา
กุนต์ อ่านว่า กุน แปลว่า ทวน ศรภู่
กุนทร อ่านว่า กุน-ทอน แปลว่า พระวิษณุ
กุลชาติ อ่านว่า กุน-ละ-ชาด แปลว่า ซึ่งเกิดในตระกูลดี
กุลเดช อ่านว่า กุน-ละ-เดด แปลว่า มีเดชในตระกูล
กุลธร อ่านว่า กุน-ละ-ทอน แปลว่า ผู้ดำรงค์วงศ์สกุล ผู้รักษาสกุลไว้
กุลนันท์ อ่านว่า ก-ละ-นัน แปลว่า เป็นที่ยินดีแห่งสกุลวงศ์
กุลนันทน์ อ่านว่า กุ-ละ-นัน แปลว่า เป็นที่ยินดีแห่งสกุลวงศ์
กุลโรจน์ อ่านว่า กุน-ละ-โรด แปลว่า ตระกูลรุ่งโรจน์
เกตน์ อ่านว่า เกด แปลว่า สัญลักษณ์ บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย
เกตุ อ่านว่า เกด แปลว่า ธง
เกริก อ่านว่า เกริก แปลว่า กึกก้อง
เกริกไกรวัล อ่านว่า เกริก-ไกร-วัน แปลว่า ผู้มีชื่อเสียงก้องไกล
เกริกวรรธน์ อ่านว่า เกริก-วัด แปลว่า ความเจริญยิ่ง
เกริกวิทย์ อ่านว่า เกริก-วิด แปลว่า ผู้มีความรู้ยิ่ง
เกรียง อ่านว่า เกรียง แปลว่า ใหญ่
เกรียงไกร อ่านว่า เกรียง-ไกร แปลว่า ผู้กล้าที่ยิ่งยง
เกรียงชัย อ่านว่า เกรียง-ไช แปลว่า ชัยชนะที่ยิ่งใหญ่
เกรียงวุฒิ อ่านว่า เกรียง-วุด แปลว่า ผู้เจริญยิ่ง
เกียรติ อ่านว่า เกียด แปลว่า ชื่อเสียง
เกียรติชัย อ่านว่า เกียด-ไช แปลว่า ชัยชนะที่มีชื่อเสียง
ไกรเดช อ่านว่า ไกร-เดด แปลว่า ผู้มีอำนาจมาก
ไกรวิชญ์ อ่านว่า ไกร-วิด แปลว่า นักปราชญ์ผู้เก่งกล้า
ไกรวิน อ่านว่า ไกร-วิน แปลว่า ดอกบัว
ไกรวี อ่านว่า ไกร-ระ-วี แปลว่า ดอกบัว
ไกรวุฒิ อ่านว่า ไกร-วุด แปลว่า ผู้มีความเจริญมาก
ขจร อ่านว่า ขะ-จอน แปลว่า ฟุ้งไป
ขจรเดช อ่านว่า ขะ-จอน-เดช แปลว่า มีอำนาจแผ่นไปทั่ว
ขจรฤทธิ์ อ่านว่า ขะ-จอน-ริด แปลว่า มีอำนาจแผ่นไปทั่ว
ขจิต อ่านว่า ขะ-จิด แปลว่า ประดับตกแต่งแล้ว
ขรรค์ชัย อ่านว่า ขัน-ไช แปลว่า ชนะด้วยขรรค์
ขวัญชัย อ่านว่า ขวัน-ไช แปลว่า ชนะด้วยความดี
คชรัตน์ อ่านว่า คด-ชะ-รัด แปลว่า ช้างแก้ว
คเชนทร์ อ่านว่า คะ-เชน แปลว่า พญาช้าง
คฑาวุธ อ่านว่า คะ-ทา-วุด แปลว่า กระบอง
คณนาถ อ่านว่า คะ-นะ-นาด แปลว่า ผู้เป็นที่พึ่งของคนทั้งหลาย นามหนึ่งของพระคเณศ
คณิต อ่านว่า คะ-นิด แปลว่า วิชาคำนวณ
คณิน อ่านว่า คะ-นิน แปลว่า เป็นใหญ่ในคณะ เป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย
คณินทร์ อ่านว่า คะ-นิน แปลว่า เป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย
คณุฒน์ อ่านว่า คะ-นุด แปลว่า ประเสริฐกว่าคนทั้งหลาย
คทา อ่านว่า คะ-ทา แปลว่า ตะบอง
คทาวุธ อ่านว่า คะ-ทา-วุด แปลว่า มีกระบองเป็นอาวุธ
ครรชิต อ่านว่า คัน-ชิด แปลว่า บันลือ
ครองเดช อ่านว่า ครอง-เดด แปลว่า ยึดอำนาจไว้ตลอดไป
ครองฤทธิ์ อ่านว่า ครอง-ริด แปลว่า รักษาอำนาจไว้
คันธารัตน์ อ่านว่า คัน-ทา-รัด แปลว่า กลิ่นแก้ว
คำนวณ อ่านว่า คำ-นวน แปลว่า คิดหาผลโดยวิธิเลข
คำนวร อ่านว่า คำ-นวน แปลว่า ควร
คำรน อ่านว่า คำ-รน แปลว่า คำราม
คิรากร อ่านว่า คิ-รา-กอน แปลว่า กระทำซึ่งถ้อยคำ พูดเก่ง พูดดี
คีรี อ่านว่า คี-รี แปลว่า ภูเขา
คีรีทอง อ่านว่า คี-รี-ทอง แปลว่า ภูเขาทอง
คึกฤทธิ์ อ่านว่า คึก-ริด แปลว่า แรงอำนาจ
คุณัชญ์ อ่านว่า คุ-นัด แปลว่า ผู้รู้คุณธรรม ผู้รู้ความดี
คุณัญญา อ่านว่า คุ-นัน-ยา แปลว่า ผู้รู้คุณธรรม ผู้รู้ความดี
คุณากร อ่านว่า คุ-นา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งความดี
คุณานนต์ อ่านว่า คุ-นา-นน แปลว่า ผู้มีคุณความดี
คุณานนท์ อ่านว่า คุ-นา-นน แปลว่า มีคุณความดีมากมาย
จงกล อ่านว่า จง-กน แปลว่า บัว
จงสุข อ่านว่า จง-สุก แปลว่า ให้มีความสุข
จรณ์ อ่านว่า จอน แปลว่า ความประพฤติดี
จรณะ อ่านว่า จะ-ระ-นะ แปลว่า ความประพฤติ
จรณินท์ อ่านว่า จะ-ระ-นิน แปลว่า เป็นใหญ่เพราะความประพฤติดี
จรณินทร์ อ่านว่า จะ-ระ-นิน แปลว่า เป็นใหญ่เพราะความประพฤติดี
จรัล อ่านว่า จะ-รัน แปลว่า เที่ยวป่า
จรายุทธ อ่านว่า จะ-รา-ยุด แปลว่า อาวุธของคนจร
จรินทร์ อ่านว่า จะ-ริน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในคนเดินทาง
จรินทร อ่านว่า จะ-ริน-ทอน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในคนเดินทาง
จรุง อ่านว่า จะ-รุง แปลว่า ชักชวน
จรูญ อ่านว่า จะ-รูน แปลว่า รุ่งเรือง
จเร อ่านว่า จะ-เร แปลว่า ผู้เร่งรีบ
จักรกริช อ่านว่า จัก-กริด แปลว่า อาวุธของแว่นแคว้น
จักรกฤช อ่านว่า จัก-กริด แปลว่า อาวุธของแว่นแคว้น
จักรกฤษณ์ อ่านว่า จัก-กริด แปลว่า พระนารายณ์ทรงจักร
จักรชัย อ่านว่า จัก-ไช แปลว่า จักแห่งชัยชนะ
จักรดุลย์ อ่านว่า จัก-กระ-ดุน แปลว่า คุณธรรมที่นำไปสู่ความเจริญ อย่างเสมอภาค
จักรธร อ่านว่า จัก-กระ-ทอน แปลว่า ผู้ทรงจักรหรืออำนาจ
จักรวุธ อ่านว่า จัก-กระ-วุด แปลว่า ผู้มีจักรเป็นอาวุธ
จักริน อ่านว่า จัก-กริน แปลว่า พระราชา พระนารายณ์
จักรินทร์ อ่านว่า จัก-กริน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในแว่นแคว้น
จัตุรงค์ อ่านว่า จัด-ตุ-รง แปลว่า องค์ 7
จันทร์ไชย อ่านว่า จัน-ไช แปลว่า ชัยชนะที่ให้ความร่มเย็น
จันทรัช อ่านว่า จัน-ทะ-รัด แปลว่า ดาวพุธ
จันทรานนท์ อ่านว่า จัน-ทรา-นน แปลว่า มีหน้าผุดผ่อง
จาตุรนต์ อ่านว่า จา-ตุ-รน แปลว่า เจ้าแห่งโลก
จารุกิตติ์ อ่านว่า จา-รุ-กิด แปลว่า มีชื่อเสียงดีงาม
จารุเดช อ่านว่า จา-รุ-เดด แปลว่า มีเดชงดงาม
จารุวัฒน์ อ่านว่า จา-รุ-วัด แปลว่า ผู้มีความเจริญรุ่งเรือง
จารุวิทย์ อ่านว่า จา-รุ-วิด แปลว่า มีความรู้งาม งามด้วยความรู้
จำนง อ่านว่า จำ-นง แปลว่า ประสงค์
จำรูญ อ่านว่า จำ-รูน แปลว่า รุ่งเรือง
จำเริญ อ่านว่า จำ-เริน แปลว่า เติบโต
จิณณ์ อ่านว่า จิน แปลว่า ประพฤติดีแล้ว
จิณณทัต อ่านว่า จิน-นะ-ทัด แปลว่า ผู้มีความประพฤติตามแบบแผน
จิณณวัตร อ่านว่า จิน-นะ-วัด แปลว่า ประพฤติตามระเบียบแบบแผน
จิณณะ อ่านว่า จิน-นะ แปลว่า ประพฤติแล้ว
จิต อ่านว่า จิด แปลว่า ใจ ซึ่งมีหน้าที่รู้ คิด และนึก
จิตร อ่านว่า จิด แปลว่า การวาดเขียน ระบายสี
จิตรกัณฐ์ อ่านว่า จิต-กัน แปลว่า นกพิราบ
จิตรดิลก อ่านว่า จิด-ดิ-หลก แปลว่า ยอดแห่งความงาม มีเครื่องหมายสวยงาม จิตรกรเด่น
จิตรายุธ อ่านว่า จิด-ตรา-ยุด แปลว่า มีอาวุธต่างๆ
จิตริน อ่านว่า จิด-ริน แปลว่า นักวาด ศิลปิน
จิรกร อ่านว่า จิ-ระ-กอน แปลว่า กระทำตลอดกาลนาน
จิรกฤต อ่านว่า จิ-ระ-กิด แปลว่า ผู้สืบทอด
จิรโชติ อ่านว่า จิ-ระ-โชด แปลว่า ความรุ่งเรือง
จิรฐา อ่านว่า จิ-ระ-ถา แปลว่า ฐานะที่มั่นคง
จิรณัฐ อ่านว่า จิ-ระ-นัด แปลว่า ผู้มีความรู้ตลอดกาลนาน
จิรนนท์ อ่านว่า จิ-ระ-นน แปลว่า ผู้เป็นที่รักและมีความผูกพัน
จิรนันท์ อ่านว่า จิ-ระ-นัน แปลว่า มีผู้ชื่นชมยินดี
จิรยุทธ อ่านว่า จิ-ระ-ยุด แปลว่า การรบที่ยาวนาน
จิรวิน อ่านว่า จิ-ระ-วิน แปลว่า ผู้มีอายุยืนยาว
จิรเวช อ่านว่า จิ-ระ-เวด แปลว่า หมอที่ยั่งยืน
จิระเดช อ่านว่า จิ-ระ-เดด แปลว่า มีอำนาจตลอดกาล
จิระนันท์ อ่านว่า จิ-ระ-นัน แปลว่า ผู้มีความเพลิดเพลินยินดีตลอดกาลนาน
จิรัฎฐ์ อ่านว่า จิ-รัด แปลว่า ดำรงมั่น อยู่นาน
จิรันดน์ อ่านว่า จิ-รัน แปลว่า ใหม่ อยู่นาน
จิรายุ อ่านว่า จิ-รา-ยุ แปลว่า มีอายุยืน
จิรายุทธ อ่านว่า จิ-รา-ยุด แปลว่า รบนาน
จีรณะ อ่านว่า จี-ระ-นะ แปลว่า ประพฤติแล้ว
จีรนันท์ อ่านว่า จี-ระ-นัน แปลว่า ผู้มีความเพลิดเพลินยินดียาวนาน
จีรยุทธ อ่านว่า จี-ระ-ยุด แปลว่า รบที่ยาวนาน
จุฑาธช อ่านว่า จุ-ทา-ทด แปลว่า ยอดธง
จุฑาวุธ อ่านว่า จุ-ทา-วุด แปลว่า มีจุกเป็นอาวุธ
จุลินทร์ อ่านว่า จุ-ลิน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในสิ่งที่เล็ก
เจตดิลก อ่านว่า เจด-ด-หลก แปลว่า มีความคิดเป็นเลิศ
เจตน์ อ่านว่า เจด แปลว่า ความคิด ความตั้งใจ
เจริญวิทย์ อ่านว่า จะ-เริน-วิด แปลว่า เจริญด้วยความรู้
ฉัตรจักร อ่านว่า ฉัด-ตระ-จัก แปลว่า ปูมโหราศาสตร์
ฉันทกร อ่านว่า ฉัน-ทะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างความพอใจ
ฉันท์ชนก อ่านว่า ฉัน-ชะ-นก แปลว่า ผู้ให้เกิดความพอใจ
ฉันท์ทัต อ่านว่า ฉัน-ทัด แปลว่า ให้ความพอใจ
ฉันทัช อ่านว่า ฉัน-ทัด แปลว่า ผู้เกิดมาด้วยความพอใจ
ฉินนรณ อ่านว่า ฉิน-นะ-รน แปลว่า ตัดการรบได้ ไม่ต้องรบคือมีชัยชนะ
ชญานนท์ อ่านว่า ชะ-ยา-นน แปลว่า ยินดีในความรู้
ชญานิน อ่านว่า ชะ-ยา-นิน แปลว่า นักปราชญ์
ชฎาธร อ่านว่า ชะ-ดา-ทอน แปลว่า พระศิวะ
ชฎายุ อ่านว่า ชะ-ดา-ยุ แปลว่า ลูกแห่งครุฑ
ชนกนันท์ อ่านว่า ชะ-นก-นัน แปลว่า เป็นที่ยินดีของบิดา
ชนกันต์ อ่านว่า ชะ-นะ-กัน แปลว่า เป็นที่รักของคนทั้งหลาย
ชนจันทร์ อ่านว่า ชะ-นะ-จัน แปลว่า ดุจพระจันทร์ในหมู่ชน เด่นกว่าคนอื่น
ชนน อ่านว่า ชะ-นน แปลว่า การเกิด เชื้อสาย
ชนนน อ่านว่า ชะ-นะ-นน แปลว่า การสืบเชื้อสาย
ชนวีร์ อ่านว่า ชะ-นะ-วี แปลว่า ชนผู้กล้าหาญ วีรชนของคนทั้งหลาย
ชนะวรรณ อ่านว่า ชะ-นะ-วัน แปลว่า ผิวพรรณแห่งคน คนผู้มีผิวพรรณสวย
ชนัญญู อ่านว่า ชะ-นัน-ยู แปลว่า ผู้รู้จักคน
ชนัต อ่านว่า ชะ-นัด แปลว่า ฝูงชน ประชากร
ชนัตร อ่านว่า ชะ-นัด แปลว่า ร่ม ร่มกันแดด
ชนันธร อ่านว่า ชะ-นัน-ทอน แปลว่า ค้ำจุนคน
ชนานันท์ อ่านว่า ชะ-นา-นัน แปลว่า ยินดีในหมู่คน
ชนิตร์นันท์ อ่านว่า ชะ-นิด-นัน แปลว่า แหล่งกำเนิดความยินดี
ชนิตว์ อ่านว่า ชะ-นิด แปลว่า ผู้ให้กำเนิด
ชนินทร์ อ่านว่า ชะ-นิน แปลว่า เป็นใหญ่ในหมู่ชน
ชนุดร อ่านว่า ชะ-นุ-ดอน แปลว่า คนที่ดีกว่า ดีกว่าคนอื่น
ชนุตต์ อ่านว่า ชะ-นุด แปลว่า คนที่สูงสุด
ชนุตร์ อ่านว่า ชะ-นุด แปลว่า คนที่ดีกว่า ดีกว่าคนอื่น
ชโนทัย อ่านว่า ชะ-โน-ไท แปลว่า ผู้มีความรุ่งเรือง
ชยณัฐ อ่านว่า ชะ-ยะ-นัด แปลว่า ชัยชนะของนักปราชญ์
ชยทัต อ่านว่า ชะ-ยะ-ทัด แปลว่า ให้ชัยชนะ
ชยธร อ่านว่า ชะ-ยะ-ทอน แปลว่า ทรงชัย
ชยังกูร อ่านว่า ชะ-ยัง-กูน แปลว่า หน่อเนื้อเชื้อไขแห่งชัยชนะ
ชยันต์ อ่านว่า ชะ-ยัน แปลว่า ผู้ชนะ
ชยากร อ่านว่า ชะ-ยา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งชัยชนะ
ชยางกูร อ่านว่า ชะ-ยาง-กูน แปลว่า หน่อเนื้อเชื้อไขแห่งชัยชนะ
ชยานันต์ อ่านว่า ชะ-ยา-นัน แปลว่า มีชัยชนะหาที่สุดมิได้
ชยานันท์ อ่านว่า ชะ-ยา-นัน แปลว่า ยินดีในชัยชนะ
ชยาวุธ อ่านว่า ชะ-ยา-วุด แปลว่า มีชัยชนะเป็นอาวุธ
ชยิน อ่านว่า ชะ-ยิน แปลว่า ชัยชนะ
ชยุต อ่านว่า ชะ-ยุด แปลว่า รุ่งเรือง
ชลชาติ อ่านว่า ชน-ละ-ชาด แปลว่า น้ำ
ชลธร อ่านว่า ชน-ละ-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ คือทะเล
ชลธี อ่านว่า ชน-ละ-ที แปลว่า ทะเล
ชลัช อ่านว่า ชะ-ลัด แปลว่า เกิดในน้ำ หมายถึงปลาหรือดอกบัว
ชลันธร อ่านว่า ชะ-ลัน-ทอน แปลว่า ทะเลหรือมหาสมุทร
ชลิต อ่านว่า ชะ-ลิด แปลว่า ผู้รุ่งเรืองแล้ว
ชวกร อ่านว่า ชะ-วะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างเชาวน์ ผู้มีเชาวน์
ชวนันท์ อ่านว่า ชะ-วะ-นัน แปลว่า ยินดีในเชาว์ปัญญา
ชวนากร อ่านว่า ชะ-วะ-นา-กอน แปลว่า ผู้มีความปราดเปรื่อง
ชวรัตน์ อ่านว่า ชะ-วะ-รัด แปลว่า มีไหวพริ่บที่ดีเลิศ
ชวโรจน์ อ่านว่า ชะ-วะ-โรด แปลว่า รุ่งเรองด้วยเชาวน์ปัญญา
ชวลิต อ่านว่า ชะ-วะ-ลิด แปลว่า รุ่งเรือง รุ่งโรจน์
ชวัล อ่านว่า ชะ-วัน แปลว่า ส่องแสง รุ่งเรือง
ชวัลกร อ่านว่า ชะ-วัน-กอน แปลว่า ผู้สร้างเชาวน์ ผู้มีเชาวน์
ชวัลวิทย์ อ่านว่า ชะ-วัน-วิด แปลว่า มีความรู้รุ่งเรือง
ชวิน อ่านว่า ชะ-วิน แปลว่า มีความไว มีเชาวน์ปัญญา ผู้ปราดเปรื่อง
ชวินทร์ อ่านว่า ชะ-วิน แปลว่า มีเชาวน์เป็นใหญ่
ชโวทัย อ่านว่า ชะ-โว-ไท แปลว่า ผู้รุ่งเรืองด้วยเชาวน์ปัญญา
ชัชชัย อ่านว่า ชัด-ไช แปลว่า ชัยชนะของนักรบ
ชัชนันท์ อ่านว่า ชัด-ชะ-นัน แปลว่า ความยินดีของนักรบ หรือนักรบผู้มีความสุข
ชัชรินทร์ อ่านว่า ชัด-ชะ-ริน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่
ชัชฤทธิ์ อ่านว่า ชัด-ชะ-ริด แปลว่า ฤทธิ์ของนักรบ หรือความสำเร็จของนักรบ
ชัชลี อ่านว่า ชัด-ชะ-ลี แปลว่า นักรบ
ชัชวาลย์ อ่านว่า ชัด-ชะ-วาน แปลว่า รุ่งเรือง
ชัยณรงค์ อ่านว่า ไช-นะ-รง แปลว่า นักรบผู้มีชัยชนะ
ชัยธวัช อ่านว่า ไช-ทะ-วัด แปลว่า ผู้นำแห่งชัยชนะ
ชัยนันท์ อ่านว่า ไช-ยะ-นัน แปลว่า ความยินดีของนักรบ หรือนักรบผู้มีความสุข
ชัยโรจน์ อ่านว่า ไช-ยะ-โรด แปลว่า ความรุ่งเรืองของผู้ชนะ
ชัยวิชญ์ อ่านว่า ไช-ยะ-วิด แปลว่า ชัยชนะของนักปราชญ์
ชัยวุฒิ อ่านว่า ไช-ยะ-วุด แปลว่า เจริญด้วยชัยชนะ
ชาคร อ่านว่า ชา-คอน แปลว่า ผู้ตื่นเสมอ ผู้เพียรพยาม
ชาคริต อ่านว่า ชา-คริด แปลว่า ผู้มีความเพียร
ชาครีย์ อ่านว่า ชา-คะ-รี แปลว่า ความเพียร
ชาญชัย อ่านว่า ชาน-ชัย แปลว่า ผู้มีชัยนะที่ชำนาญ
ชาญณรงค์ อ่านว่า ชาน-นะ-รง แปลว่า นักรบผู้ชำนาญ
ชาตวิทย์ อ่านว่า ชา-ตะ-วิด แปลว่า เกิดความรู้
ชาติอาชาไนย อ่านว่า ชาด-อา-ชา-ไน แปลว่า ผู้มีคุณธรรมและเก่งกล้าสามารถ
ชานน อ่านว่า ชา-นน แปลว่า รู้ ความรู้
ชานนท์ อ่านว่า ชา-นน แปลว่า เพลิดเพลินยินดีในความรู้
ชิณณวรรธน์ อ่านว่า ชิน-นะ-วัด แปลว่า อยู่กับความเจริญ
ชิตวร อ่านว่า ชิ-ตะ-วอน แปลว่า มีชัยอันประเสริฐ
ชินกฤต อ่านว่า ชิ-นะ-กริด แปลว่า สร้างชัยชนะ มีชัยชนะ
ชินดนัย อ่านว่า ชิน-ดะ-ไน แปลว่า บุตรผู้ชนะ บุตรของพระชินะ พุทธบุตร
ชีวันธร อ่านว่า ชี-วัน-ทอน แปลว่า มีชีวิต ทรงไว้ซึ่งชีวิต
ชีวานนท์ อ่านว่า ชี-วา-นน แปลว่า ผู้มีชีวิตเป็นสุข
ชุติวัต อ่านว่า ชุ-ติ-วัด แปลว่า ผู้มีความรุ่งเรือง
ไชยวัฒน์ อ่านว่า ไช-ยะ-วัด แปลว่า มีความเจริญอันประเสริฐ
ญาณกร อ่านว่า ยา-นะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างความรู้
ญาณธร อ่านว่า ยา-นะ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความรู้
ญาณโรจน์ อ่านว่า ยา-นะ-โรด แปลว่า รุ่งเรืองด้วยความรู้
ญาณวุฒิ อ่านว่า ยา-นะ-วุด แปลว่า เจริญด้วยความรู้
ญาณัช อ่านว่า ยา-นัด แปลว่า เกิดมาเพื่อความรู้
ญาณัท อ่านว่า ยา-นัด แปลว่า ผู้ให้ความรู้
ญาณันธร อ่านว่า ยา-นัน-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งความรู้
ญาณากร อ่านว่า ยา-นา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งความรัก
ญาณาธร อ่านว่า ยา-นา-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความรู้
ญาโณทัย อ่านว่า ยา-โน-ไท แปลว่า รุ่งอุทัยแห่งความรู้ รุ่งเรืองด้วยความรู้
ญานุจจัย อ่านว่า ยา-นุด-ไจ แปลว่า สะสมความรู้ มีความรู้มาก
ฐากูร อ่านว่า ถา-กูน แปลว่า ที่เคารพ
ฐานยิน อ่านว่า ถา-ยิน แปลว่า ผู้ดำรงอยู่นาน
ฐานันดร อ่านว่า ถา-นัน-ดอน แปลว่า ตำแหน่ง
ฐิตวัฒน์ อ่านว่า ถิ-ตา-วัด แปลว่า มีความเจริญที่ตั้งมั่นแล้ว
ฐิติ อ่านว่า ถิ-ติ แปลว่า การดำรงอยู่
ฐิตินันท์ อ่านว่า ถิ-ติ-นัน แปลว่า มีความชื่นชมยินดีในชีวิต
ฐิติวัฒน์ อ่านว่า ถิ-ติ-วัด แปลว่า เจริญและมีความมั่นคง
ฐิติวุฒิ อ่านว่า ถิ-ติ-วุด แปลว่า มีความเจริญมั่นคงตลอดไป
ฐีรวัฒน์ อ่านว่า ถี-ระ-วัด แปลว่า มีความเจริญตลอดไป
ณรงค์ อ่านว่า นะ-รง แปลว่า การรบ
ณรงค์กร อ่านว่า นะ-รง-กอน แปลว่า ผู้ทำการรบ
ณรงค์ชัย อ่านว่า นะ-รง-ไช แปลว่า ชัยชนะในการรบ
ณรงค์ฤทธิ์ อ่านว่า นะ-รง-ริด แปลว่า มีฤทธิ์ในการรบ
ณรงค์วิทย์ อ่านว่า นะ-รง-วิด แปลว่า มีความรู้ในการรบ
ณัช อ่านว่า นัด แปลว่า เกิดมาเพื่อความรู้ ผู้ให้เกิดความรู้
ณัฏฐ์ อ่านว่า นัด แปลว่า ผู้ตั้งอยู่ในความรู้ นักปราชญ์
ณัฏฐกิตติ์ อ่านว่า นัด-ถะ-กิด แปลว่า เกียรติของนักปราชญ์
ณัฏฐชัย อ่านว่า นัด-ถะ-ไช แปลว่า ความชนะของนักปราชญ์
ณัฏฐนันท์ อ่านว่า นัด-ถะ-นัน แปลว่า เป็นที่ชื่นชมยินดีของนักปราชญ์
ณัฏฐวี อ่านว่า นัด-ถะ-วี แปลว่า ผู้มีความฉลาด
ณัฏฐากร อ่านว่า นัด-ถา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งปัญญา
ณัฐ อ่านว่า นัด แปลว่า ผู้ตั้งอยู่ในความรู้ นักปราชญ์
ณัฐกรณ์ อ่านว่า นัด-ถะ-กอน แปลว่า นักปราชญ์
ณัฐกฤต อ่านว่า นัด-ถะ-กริด แปลว่า สร้างให้เป็นนักปราชญ์
ณัฐชนน อ่านว่า นัด-ชะ-นน แปลว่า เกิดมาเป็นนักปราชญ์
ณัฐดนัย อ่านว่า นัด-ดะ-ไน แปลว่า บุตรของนักปราชญ์ บุตรผู้ฉลาด
ณัฐธัญ อ่านว่า นัด-ทัน แปลว่า ปราชญ์ผู้โชคดี
ณัฐนนท์ อ่านว่า นัด-ถะ-นน แปลว่า เป็นที่ชื่นชมยินดีของนักปราชญ์
ณัฐนันท์ อ่านว่า นัด-ถะ-นัน แปลว่า เป็นที่ชื่นชมยินดีของนักปราชญ์
ณัฐนัย อ่านว่า นัด-ถะ-ไน แปลว่า อุบายหรือแนวทางของนักปราชญ์
ณัฐรณ อ่านว่า นัด-ถะ-รน แปลว่า การรบของนักปราชญ์
ณัฐรัช อ่านว่า นัด-ถะ-รัด แปลว่า สมบัติของนักปราชญ์
ณัฐรัชต์ อ่านว่า นัด-ถะ-รัด แปลว่า มีความเป็นนักปราชญ์เป็นสมบัติ
ณัฐรัตน์ อ่านว่า นัด-ถะ-รัด แปลว่า ผู้มีความรู้อันประเสริฐ
ณัฐวร อ่านว่า นัด-ถะ-วอน แปลว่า นักปราชญ์ผู้ประเสริฐ
ณัฐวรรธน์ อ่านว่า นัด-ถะ-วัด แปลว่า นักปราชญ์ผู้เจริญ
ณัฐวัฒน์ อ่านว่า นัด-ถะ-วัด แปลว่า ความเจริญของนักปราชญ์
ณัฐวัตร อ่านว่า นัด-ถะ-วัด แปลว่า ความประพฤติของนักปราชญ์
ณัฐวิโรจน์ อ่านว่า นัด-ถะ-วิ-โรด แปลว่า นักปราชญ์ผู้รุ่งเรือง
ณัฐวุฒิ อ่านว่า นัด-ถะ-วุด แปลว่า ผู้เจริญด้วยความรู้
ณัท อ่านว่า นัด แปลว่า ให้ซึ่งความรู้
ดนุเดช อ่านว่า ดะ-นุ-เดด แปลว่า มีเดชเป็นของตน
ดนุนันท์ อ่านว่า ดะ-นุ-นัน แปลว่า มีความสุขด้วยตนเอง มีความบันเทิงด้วยตัวเอง
ดรณ์ อ่านว่า ดอน แปลว่า การข้ามพ้นทุกข์
ดรัณ อ่านว่า ดะ-รัน แปลว่า การข้าม เรือหรือแพ
ดลยุทธ์ อ่านว่า ดน-ละ-ยุด แปลว่า การยุทธแห่งมือคือการตบมือ
ดลฤทธิ์ อ่านว่า ดน-ริด แปลว่า บันดาลให้เกิดฤทธิ์
ดิตถ์ อ่านว่า ดิด แปลว่า ท่าน้ำ ลัทธิความเชื่อถือ
เดชาธร อ่านว่า เด-ชา-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งเดช
ตรัณ อ่านว่า ตะ-รัน แปลว่า การข้ามพ้น สิ่งที่พาให้ข้ามพ้น
ตรัย อ่านว่า ไตร แปลว่า สาม
ตรัยคุณ อ่านว่า ไตร-คุณ แปลว่า มีคุณสามประการ
ตรัยรัตน์ อ่านว่า ตรัย-รัด แปลว่า แก้วสามประการ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ตรินัยน์ อ่านว่า ตริ-ไน แปลว่า มีสามตา
ตฤณ อ่านว่า ตริน แปลว่า หญ้า
ตาณ อ่านว่า ตาน แปลว่า ที่พึ่ง ป้องกันภัย
ติณณ์ อ่านว่า ติน แปลว่า ผู้ข้ามพ้นความทุกข์แล้ว
ตีรณ อ่านว่า ตี-รน แปลว่า ปัญญาพิจารณา ไตร่ตรอง
ตุลธร อ่านว่า ตุน-ละ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความเที่ยงตรง
เตชน์ อ่านว่า เตด แปลว่า ว่องไว ฉลาด ลูกศร
เตชิต อ่านว่า เต-ชิด แปลว่า คมกล้า หรือฉลาดเฉียบแหลม
เตชินท์ อ่านว่า เต-ชิน แปลว่า เป็นใหญ่ด้วยเดช มีเดชยิ่งใหญ่
เตวิช อ่านว่า เต-วิด แปลว่า มีวิชาสามประการ มีความรู้พิเศษสามประการ
โตณณาการ อ่านว่า โต-นะ-นา-การ แปลว่า อาการปลื้มปิติยินดี
โตยธร อ่านว่า โต-ยะ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งน้ำ อุ้มน้ำ หมายถึงเมฆหรือทะเล
ถนิต อ่านว่า ถะ-นิด แปลว่า เสียงฟ้าคำรณ
ถิร อ่านว่า ถิ-ระ แปลว่า มั่นคง
ถิรคุณ อ่านว่า ถิ-ระ-คุณ แปลว่า มัคุณธรรมมั่นคง
ถิรเจตน์ อ่านว่า ถิ-ระ-เจต แปลว่า มีเจตนามั่นคง
ถิรนัย อ่านว่า ถิ-ระ-ไน แปลว่า มีนโยบายมั่นคง
ถิรวิทย์ อ่านว่า ถิ-ระ-วิด แปลว่า มีความรู้มั่นคง
ทยากร อ่านว่า ทะ-ยา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งความเมตตากรุณา
ทยุต อ่านว่า ทะ-ยุด แปลว่า สว่างไสว
ทรงกฤต อ่านว่า ทรง-กริด แปลว่า การสร้าง
ทรงรัฐ อ่านว่า ทรง-รัด แปลว่า ครองเมือง
ทรงวุฒิ อ่านว่า ซง-วุด แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความเจริญ
ทวีเดช อ่านว่า ทะ-วี-เดช แปลว่า ผู้มีอำนาจมากขึ้น
ทวีรัชต์ อ่านว่า ทะ-วี-รัด แปลว่า สมบัติมาก
ทวีรัฐ อ่านว่า ทะ-วี-รัด แปลว่า สองเมือง สองแคว้น
ทัณฑธร อ่านว่า ทัน-ทะ-ทอน แปลว่า ผู้พิพากษา
ทัตธน อ่านว่า ทัด-ทน แปลว่า ผู้ให้ทรัพย์ ผู้มีทรัพย์ที่คนอื่นให้
ทินกฤต อ่านว่า ทิน-นะ-กริด แปลว่า ทำกลางวัน พระอาทิตย์
ทิวัตถ์ อ่านว่า ทิ-วัด แปลว่า มีความสำเร็จเป็นเลิศ
ธงชัย อ่านว่า ทง-ไช แปลว่า ธงแห่งชัยชนะ
ธชรัฐ อ่านว่า ทะ-ชะ-รัด แปลว่า เครื่องหมายบอกลักษณะประเทศ
ธนกร อ่านว่า ทะ-นะ-กอน แปลว่า สร้างทรัพย์สิน
ธนกฤต อ่านว่า ทะ-นะ-กริด แปลว่า การสร้างทรัพย์สมบัติ
ธนกฤติ อ่านว่า ทะ-นะ-กริด แปลว่า สร้างทรัพย์ ทำเงิน
ธนชัย อ่านว่า ทะ-นะ-ไช แปลว่า ชนะด้วยทรัพย์
ธนชาติ อ่านว่า ทะ-นะ-ชาด แปลว่า ตระกูลเศรษฐี
ธนชิต อ่านว่า ทะ-นะ-ชิด แปลว่า ชนะด้วยทรัพย์
ธนโชติ อ่านว่า ทะ-นะ-โชด แปลว่า รุ่งเรืองด้วยทรัพย์ มีทรัพย์มาก
ธนดล อ่านว่า ทะ-นะ-ดน แปลว่า บันดาลทรัพย์
ธนเดช อ่านว่า ทะ-นะ-เดด แปลว่า มีทรัพย์เป็นอำนาจ
ธนทัต อ่านว่า ทะ-นะ-ทัด แปลว่า มีทรัพย์
ธนธรณ์ อ่านว่า ทะ-นะ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งทรัพย์ มั่งมี
ธนนันท์ อ่านว่า ทะ-นะ-นัน แปลว่า ยินดีในทรัพย์
ธนวรรธน์ อ่านว่า ทะ-นะ-วัด แปลว่า ความเจริญด้วยทรัพย์
ธนวัชร์ อ่านว่า ทะ-นะ-วัด แปลว่า มีเพชรเป็นสมบัติ
ธนวัฒน์ อ่านว่า ทะ-นะ-วัด แปลว่า เจริญด้วยทรัพย์
ธนวัต อ่านว่า ทะ-นะ-วัด แปลว่า มีทรัพย์
ธนวันต์ อ่านว่า ทะ-นะ-วัน แปลว่า มีทรัพย์
ธนวิชญ์ อ่านว่า ทะ-นะ-วิด แปลว่า มีความรู้เรื่องทรัพย์
ธนวิทย์ อ่านว่า ทะ-นะ-วิด แปลว่า รู้เรื่องทรัพย์
ธนวินท์ อ่านว่า ทะ-นะ-วิน แปลว่า ได้ทรัพย์สิน มีทรัพย์
ธนวุฒิ อ่านว่า ทะ-นะ-วุด แปลว่า เจริญด้วยทรัพย์
ธนะดี อ่านว่า ทะ-นะ-ดี แปลว่า ทรัพย์ดี
ธนัช อ่านว่า ทะ-นัด แปลว่า เกิดจากทรัพย์ คนร่ำรวย
ธนัชชัย อ่านว่า ทะ-นัด-ไช แปลว่า ชัยชนะที่เกิดจากทรัพย์
ธนัชชา อ่านว่า ทะ-นัด-ชา แปลว่า เกิดจากทรัพย์
ธนัตถ์ อ่านว่า ทะ-นัด แปลว่า มีความสำเร็จด้วยทรัพย์ มีกำไรคือทรัพย์
ธนัท อ่านว่า ทะ-นัด แปลว่า ผู้ให้ทรัพย์ ผู้ร่ำรวย
ธนัน อ่านว่า ทะ-นัน แปลว่า ผู้มีทรัพย์
ธนันชัย อ่านว่า ทะ-นัน-ไช แปลว่า ผู้มีทรัพย์และมีชัยชนะ
ธนากร อ่านว่า ทะ-นา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งทรัพย์
ธนาฒย์ อ่านว่า ทะ-นาด แปลว่า ผู้ร่ำรวย
ธนาดุล อ่านว่า ทะ-นา-ดุน แปลว่า มีทรัพย์นับไม่ได้ มีทรัพย์มาก
ธนาตย์ อ่านว่า ทะ-นาด แปลว่า ร่ำรวย
ธนายุต อ่านว่า ทะ-นา-ยุด แปลว่า ขวนขวายในทรัพย์
ธนิก อ่านว่า ทะ-นิก แปลว่า มีทรัพย์ หรือผู้ร่ำรวย
ธนิต อ่านว่า ทะ-นิด แปลว่า หนัก
ธนิน อ่านว่า ทะ-นิน แปลว่า มีทรัพย์
ธรณ์ อ่านว่า ทอน แปลว่า ทรงไว้ ความทรงจำ แผ่นดิน
ธรณินทร์ อ่านว่า ทอ-ระ-นิน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ธรนันท์ อ่านว่า ทอ-ระ-นัน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความบันเทิง ทรงไว้ซึ่งความสุข
ธราวุธ อ่านว่า ทะ-รา-วุด แปลว่า ทรงไว้ซึ่งอาวุธ
ธฤต อ่านว่า ทะ-ริด แปลว่า มั่นคง ตั้งมั่น
ธฤตญาณ อ่านว่า ทะ-ริด-ยาน แปลว่า ตั้งมั่นด้วยปัญญา
ธวัช อ่านว่า ทะ-วัด แปลว่า ธง
ธวัชชัย อ่านว่า ทะ-วัด-ไช แปลว่า ธงชัย
ธวัชตรี อ่านว่า ทะ-วัด-ตรี แปลว่า ธงสามสี
ธวัฒน์ อ่านว่า ทะ-วัด แปลว่า เจริญด้วยทรัพย์สมบัติ
ธัชชัย อ่านว่า ทัด-ไช แปลว่า ธงชัย
ธัชนนท์ อ่านว่า ทัด-ชะ-นน แปลว่า มีความบันเทิงเป็นธงชัย
ธัชนันท์ อ่านว่า ทัด-ชะ-นัน แปลว่า มีความบันเทิงเป็นธงชัย
ธัญกร อ่านว่า ทัน-ยะ-กอน แปลว่า สร้างสิริมงคล
ธัญชนิต อ่านว่า ทัน-ชะ-นิด แปลว่า ผู้ให้เกิดโชคดี
ธัญธร อ่านว่า ทัน-ยะ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งโชคดี
ธัญธรณ์ อ่านว่า ทัน-ยะ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความโชคดี
ธันย์ชนก อ่านว่า ทัน-ชะ-นก แปลว่า ผู้เลี้ยงดูบิดา
ธันยา อ่านว่า ทัน-ยา แปลว่า มีบุญ มีโชค
ธาดา อ่านว่า ทา-ดา แปลว่า ผู้สร้าง
ธาตรี อ่านว่า ทา-ตรี แปลว่า แผ่นดิน
ธานินทร์ อ่านว่า ทา-นิน แปลว่า ผู้ครองแผ่นดิน ผู้เป็นใหญ่ในนคร
ธารณ์ อ่านว่า ทาน แปลว่า ทรงไว้ ค้ำจุนหรือดำรงไว้
ธาริต อ่านว่า ทา-ริด แปลว่า ดำรงไว้ ทรงไว้ ค้ำจุน
ธาริตญาณ อ่านว่า ทา-ริด-ยาน แปลว่า ดำรงไว้ซึ่งปัญญา
ธารินทร์ อ่านว่า ทา-ริน แปลว่า เจ้าแห่งการสร้าง
ธาวัน อ่านว่า ทา-วัน แปลว่า วิ่ง ว่องไว บริสุทธิ์
ธาวิต อ่านว่า ทา-วิด แปลว่า บริสุทธิ์ วิ่ง ว่องไว
ธาวิน อ่านว่า ทา-วิน แปลว่า ผู้บริสุทธิ์ วิ่ง ว่องไว
ธิติ อ่านว่า ทิ-ติ แปลว่า ความเพียร ความรู้ ความอดทน
ธิติกร อ่านว่า ทิ-ติ-กอน แปลว่า สร้างความเพียร ความดี และอดทน
ธิติวุฒิ อ่านว่า ทิ-ต-วุด แปลว่า เจริญด้วยความเพียร ความอดทน ความรู้
ธีทัต อ่านว่า ที-ทัด แปลว่า ให้ปัญญา
ธีธัช อ่านว่า ที-ทัด แปลว่า มีปัญญาเป็นธงชัย
ธีรกุล อ่านว่า ที-ระ-กุน แปลว่า ตระกูลนักปราชญ์
ธีรเจต อ่านว่า ที-ระ-เจด แปลว่า จิตใจมั่นคง
ธีรฉัตร อ่านว่า ที-ระ-ฉัด แปลว่า ร่มของนักปราชญ์
ธีรชัย อ่านว่า ที-ระ-ไช แปลว่า ชัยชนะของนักปราชญ์
ธีรโชติ อ่านว่า ที-ระ-โชด แปลว่า ความรุ่งเรืองของปราชญ์
ธีรดนย์ อ่านว่า ที-ระ-ดน แปลว่า ลูกชายผู้เป็นปราชญ์
ธีรเดช อ่านว่า ที-ระ-เดด แปลว่า อำนาจของนักปราชญ์
ธีร์ธวัช อ่านว่า ที-ทะ-วัด แปลว่า นักปราชญ์ผู้เป็นดุจธงชัย
ธีรนันท์ อ่านว่า ที-ระ-นัน แปลว่า ผู้มีความยินดีในความรู้
ธีรนัย อ่านว่า ที-ระ-ไน แปลว่า นโยบายของนักปราชญ์ กาแนะนำของนักปราชญ์
ธีรไนย อ่านว่า ที-ระ-ไน แปลว่า ผู้ที่นักปราชญ์พึ่งแนะนำ
ธีรยุทธ อ่านว่า ที-ระ-ยุด แปลว่า การรบของนักปราชญ์
ธีรโรจน์ อ่านว่า ที-ระ-โรด แปลว่า ความรุ่งเรืองของนักปราชญ์
ธีรวัชร อ่านว่า ที-ระ-วัด แปลว่า เพชรของนักปราชญ์
ธีรวัฒน์ อ่านว่า ที-ระ-วัด แปลว่า เจริญเหมือนนักปราชญ์
ธีรวิทย์ อ่านว่า ที-ระ-วิด แปลว่า ความรู้ของนักปราชญ์
ธีระ อ่านว่า ที-ระ แปลว่า นักปราชญ์
ธีรัช อ่านว่า ที-รัด แปลว่า เกิดมาเพื่อเป็นนักปราชญ์
ธีราทร อ่านว่า ที-รา-ทอน แปลว่า เอื้อเฟื้อต่อนักปราชญ์
ธีริทธ์ อ่านว่า ที-ริด แปลว่า นักปราชญ์ผู้มีความสำเร็จ
ธีรุตน์ อ่านว่า ที-รุด แปลว่า นักปราชญ์ผู้สูงสุด
ธุวชิต อ่านว่า ทุ-วะ-ชิด แปลว่า ผู้ชนะเป็นนิตย์
ธุวนิช อ่านว่า ทุ-วะ-นิด แปลว่า มีความรู้ยั่งยืน
ธุววิช อ่านว่า ทุ-วะ-วิด แปลว่า มีความรู้ยั่งยืน
ธุวานันท์ อ่านว่า ทุ-วา-นัน แปลว่า มีความยินดียั้งยืน มีความสุขยั่งยืน
เธียรวิชญ์ อ่านว่า เทียน-ระ-วิด แปลว่า นักปราชญ์
นครินทร์ อ่านว่า นะ-คะ-ริน แปลว่า เจ้าเมือง
นคินทร์ อ่านว่า นะ-คิน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่แห่งภูเขา
นทจร อ่านว่า นด-ทะ-จอน แปลว่า เที่ยวไปในน้ำ
นนทกร อ่านว่า นน-ทะ-กอน แปลว่า กระทำความเพลิดเลิน
นนทรี อ่านว่า นน-ซี แปลว่า ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
นนทวร อ่านว่า นน-ทะ-วอน แปลว่า มีความเพลิดเพลินอันประเสริฐ
นนทัช อ่านว่า นน-ทัด แปลว่า เกิดมาเพื่อความบันเทิง
นนทิยุต อ่านว่า นน-ทิ-ยุด แปลว่า ผู้ประกอบด้วยความยินดี
นนทิวรรธน์ อ่านว่า นน-ทิ-วัด แปลว่า ยินดีในทรัพย์
นรชัย อ่านว่า นอ-ระ-ไช แปลว่า ชัยชนะของคน
นรธีร์ อ่านว่า นอ-ระ-ที แปลว่า คนผู้เป็นนักปราชญ์
นรรัตน์ อ่านว่า นอ-ระ-รัด แปลว่า ผู้ประเสริฐ
นรวร อ่านว่า นอ-ระ-วอน แปลว่า คนผู้ประเสริฐ
นรวิชญ์ อ่านว่า นอ-ระ-วิด แปลว่า คนที่เป็นปราชญ์
นรวีร์ อ่านว่า นอ-ระ-วี แปลว่า คนผู้กล้าหาญ
นรวุฒิ อ่านว่า นอ-ระ-วุด แปลว่า ผู้เจริญ
นรากร อ่านว่า นะ-รา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งคน
นราวิชญ์ อ่านว่า นะ-รา-วิด แปลว่า คนที่เป็นปราชญ์
นราวุธ อ่านว่า นะ-รา-วุด แปลว่า อาวุธของคน
นฤชัย อ่านว่า นะ-รึ-ไช แปลว่า คนผู้มีชัยชนะ
นฤชิต อ่านว่า นะ-รึ-ชิด แปลว่า ผู้ชนะ
นฤนาถ อ่านว่า นะ-รึ-นาด แปลว่า ที่พึ่งของคน
นฤรงค์ อ่านว่า นะ-รึ-รง แปลว่า เป็นที่พอใจคน เป็นที่รักของคน
นวัช อ่านว่า นะ-วัด แปลว่า เกิดใหม่ ผู้เยาว์วัย
นวัต อ่านว่า นะ-วัด แปลว่า ความใหม่ ภาวะใหม่
นวัตกรณ์ อ่านว่า นะ-วัด-ตะ-กอน แปลว่า กระทำสิ่งใหม่
นวันธร อ่านว่า นะ-วัน-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งสิ่งใหม่ ๆ
นวิน อ่านว่า นะ-วิน แปลว่า ใหม่ หนุ่ม สดชื่น
นัทธ์ อ่านว่า นัด แปลว่า ขันเกลียว ผูกพัน
นัทธิ์ อ่านว่า นัด แปลว่า ชะเนาะ
นัธทวัฒน์ อ่านว่า นัด-ทะ-วัด แปลว่า มีความเจริญเป็นที่มั่นคง
นันทกร อ่านว่า นัน-ทะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างความบันเทิง
นันท์ทัต อ่านว่า นัน-ทัด แปลว่า ให้ความบันเทิง ให้ความสุข
นันท์ธร อ่านว่า นัน-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความบันเทิงหรือความสุข
นันทิช อ่านว่า นัน-ทิด แปลว่า ผู้เกิดมาเพื่อความสุข เกิดมาเพื่อความเพลิดเพลิน
นันทิน อ่านว่า นัน-ทิน แปลว่า มีความบันเทิง มีความสุข
นันทิวร อ่านว่า นัน-ทิ-วอน แปลว่า มีความเพลิดเพลินอันประเสริฐ
นัยนิต อ่านว่า ไน-ยะ-นิด แปลว่า ผู้ที่แนะนำได้ด้วยอุบาย
นาถวัฒน์ อ่านว่า นาด-ถะ-วัด แปลว่า เจริญด้วยที่พึ่ง
นำเกียรติ อ่านว่า นำ-เกียด แปลว่า มีชื่อเสียง
นิจิต อ่านว่า นิ-จิด แปลว่า สั่งสมไว้
นิช อ่านว่า นิด แปลว่า เป็นของตนเอง นิรันดร
นิชฌาน อ่านว่า นิด-ชาน แปลว่า การเพ่งพินิจ ปัญญา
นิชนันท์ อ่านว่า นิด-ชะ-นัน แปลว่า ผู้มีความสุข ความเพลิดเพลิน เป็นของตน
นิติธร อ่านว่า นิ-ติ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งแบบแผนหรือนักกฏหมาย
นิทธนต์ อ่านว่า นิด-ทน แปลว่า ผู้กำจัดมลทิน ผู้ขจัดความชั่ว
นิทธันต์ อ่านว่า นิด-ทัน แปลว่า ผู้ขยัดมลทิน ขจัดความชั่ว
นิธาน อ่านว่า นิ-ทาน แปลว่า เก็บไว้ ตั้งมั่น
นิธิกร อ่านว่า นิ-ทิ-กอน แปลว่า ผู้สร้างขุมทรัพย์
นิธูร อ่านว่า นิ-ทูน แปลว่า กำไลมือ
นิรวิทธ์ อ่านว่า นิ-ระ-วิด แปลว่า แทงทะลุ มีปัญญาเจาะลึก
นิรัช อ่านว่า นิ-รัด แปลว่า ไม่มีธุลีคือกิเลส ไม่มีกิเลศ
นิรินธน์ อ่านว่า นิ-ริน แปลว่า ไม่มีกิเลศ
นิรุช อ่านว่า นิ-รุด แปลว่า ดับทุกข์สนิท
นิวิฐ อ่านว่า นิ-วิด แปลว่า ตั้งมั่น ตั้งใจมั่น
เนติธร อ่านว่า เน-ติ-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งแบบแผน นักกฎหมาย
ไนยชน อ่านว่า ไน-ยะ-ชน แปลว่า คนที่พึงแนะนำได้
ยชญ์ อ่านว่า ยด แปลว่า การบูชา การให้เกียรติ
ยิ่งคุณ อ่านว่า ยิ่ง-คุน แปลว่า มีคุณยิ่ง
ยุติวิชญ์ อ่านว่า ยุ-ติ-วิด แปลว่า นักปราชญ์ผู้มีความยุติธรรม
ยุทธไกร อ่านว่า ยุด-ทะ-ไกร แปลว่า เก่งในการรบ
โยธิน อ่านว่า โย-ทิน แปลว่า ผู้ชนะ
รชต อ่านว่า ระ-ชด แปลว่า ระ-ชะ-ตะ
รชานนท์ อ่านว่า ระ-ชา-นน แปลว่า ยินดีในทรัพย์สมบัติ
รฐนนท์ อ่านว่า ระ-ถะ-นน แปลว่า เป็นที่ชื่นชอบของรัฐ
รณกร อ่านว่า รน-นะ-กอน แปลว่า การรบ นักรบ
รณชัช อ่านว่า รน-นะ-ชัด แปลว่า ทหารในสนามรบ
รณรต อ่านว่า รน-นะ-รด แปลว่า ผู้ยินดีในการรบ
รณวร อ่านว่า รน-นะ-วอน แปลว่า ประเสริฐในการรบ มีเสียงไพเราะ
รตน อ่านว่า ระ-ตะ-นะ แปลว่า ความรื่นรมย์
รวินันท์ อ่านว่า ระ-วิ-นัน แปลว่า เป็นที่ยินดีดุจพระอาทิตย์
รัชชานนท์ อ่านว่า รัด-ชา-นน แปลว่า ยินดีในสมบัติ ยินดีในความเป็นพระราชา
รัชนาท อ่านว่า รัด-ชะ-นาด แปลว่า เสียงบันลือในประเทศ มีอำนาจในประเทศ
รัญชน์ อ่านว่า รัน แปลว่า ความยินดี
รัฐนันท์ อ่านว่า รัด-ถะ-นัน แปลว่า เป็นที่ยินดีของประเทศ
ราชินทร์ อ่านว่า รา-ชิน แปลว่า ราชาผู้เป็นใหญ่
รุ่งรุจ อ่านว่า รุ่ง-รุด แปลว่า รุ่งโรจน์ สว่างไสว
รุ่งวิกรัย อ่านว่า รุ่ง-วิ-ไกร แปลว่า ค้าขายเจริญ
รุจ อ่านว่า รุด แปลว่า รุ่งเรือง สว่าง
ฤทธิรณ อ่านว่า ริด-ทิ-รน แปลว่า ความเก่งกล้าในการรบ
ลวิตร อ่านว่า ละ-วิด แปลว่า เครื่องเกี่ยว
ลัญฉกร อ่านว่า ลัด-ฉะ-กอน แปลว่า ตราที่ใช้ตีหรือประทับ
วชิรวิทย์ อ่านว่า วะ-ชิ-ระ-วิด แปลว่า มีความรู้เฉียบคมดุจเพชร
วทัญญู อ่านว่า วะ-ทัน-ยู แปลว่า ผู้รู้คำพูดหรือความต้องการของคนอื่น ผู้ใจบุญสุนทาน
วทันยู อ่านว่า วะ-ทัน-ยู แปลว่า ผู้ใจบุญสุนทาน
วนันต์ อ่านว่า วะ-นัน แปลว่า แนวป่า ชายป่า
วรกันต์ อ่านว่า วอ-ระ-กัน แปลว่า ผู้ประเสริฐและน่ารัก
วรชน อ่านว่า วอ-ระ-ชน แปลว่า คนผู้ประเสริฐ
วรชัย อ่านว่า วอ-ระ-ไช แปลว่า มีชัยชนะอันประเสริฐ
วรชิต อ่านว่า วอ-ระ-ชิด แปลว่า มีชัยชนะอันประเสริฐ
วรโชติ อ่านว่า วอ-ระ-โชด แปลว่า ผู้มีความรุ่งเรืองอันประเสริฐ
วรณ อ่านว่า วะ-รน แปลว่า ป้อง กำแพง การป้องกันภัย
วรดนัย อ่านว่า วอ-ระ-ดะ-ไน แปลว่า ผู้มีรูปโฉมอันสง่างาม
วรดร อ่านว่า วอ-ระ ดอน แปลว่า ผู้ประเสริฐกว่าคนอื่น
วรถ อ่านว่า ระ-รด แปลว่า ไม้ค้ำ
วรท อ่านว่า วะ-รด แปลว่า ผู้ที่ให้สิ่งประเสริฐ ให้พร
วรทย์ อ่านว่า วะ-รด แปลว่า ผู้มีความกรุณาอันประเสริฐ
วรทัต อ่านว่า วอ-ระ-ทัด แปลว่า ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ให้พร
วรธน อ่านว่า วอ-ระ-ทน แปลว่า มีทรัพย์อันประเสริฐ
วรนน อ่านว่า วอ-ระ-นน แปลว่า มีใจประเสริฐ
วรนาถ อ่านว่า วอ-ระ-นาด แปลว่า ผู้มีที่พึ่งอันประเสริฐ
วรรณธัช อ่านว่า วัน-นะ-ทัด แปลว่า เด่นทางหนังสือ
วรรณิก อ่านว่า วัน-นิก แปลว่า ผู้มีอาชีพเกี่ยวกับหนังสือ ผู้เขียน เสมียน
วรวัช อ่านว่า วอ-ระ-วัด แปลว่า มีความรู้อันประเสริฐ
วรวัฒน์ อ่านว่า วอ-ระ-วัด แปลว่า ประเสริฐและเจริญ
วรวิช อ่านว่า วอ-ระ-วิด แปลว่า มีความรู้อันประเสริฐ
วรวิทย์ อ่านว่า วอ-ระ-วิด แปลว่า มีความรู้อันประเสริฐ
วรวุฒิ อ่านว่า วอ-ระ-วุด แปลว่า มีความประเสริฐและความเจริญ
วรัชญ์ อ่านว่า วะ-รัด แปลว่า ผู้รู้สิ่งที่ประเสริฐ
วรัญชิต อ่านว่า วะ-รัน-ชิด แปลว่า มีชัยชนะอันประเสริฐ หรือชนะคนที่ประเสริฐ
วรัญญู อ่านว่า วะ-รัน-ยู แปลว่า ผู้รู้สิ่งที่ประเสริฐ
วรัตถ์ อ่านว่า วะ-รัด แปลว่า มีความมุ่งหมายประเสริฐ มีความเจริญยิ่ง
วรัท อ่านว่า วะ-รัด แปลว่า ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ผู้ให้พร
วรัทยา อ่านว่า วะ -รัด-ทะ-ยา แปลว่า มีความกรุณาอันประเสริฐ
วรากร อ่านว่า วะ-รา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งสิ่งประเสริฐ
วรานนท์ อ่านว่า วะ-รา-นน แปลว่า ความยินดีในสิ่งประเสริฐ
วรายุทธ อ่านว่า วะ-รา-ยุด แปลว่า เลิศในการรบ
วริทธิ์ อ่านว่า วะ-ริด แปลว่า ผู้มีความสำเร็จอันประเสริฐ
วริทธิ์ธร อ่านว่า วะ-ริด-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งความสำเร็จอันประเสริฐ
วริทธิ์นันท์ อ่านว่า วะ-ริด-นัน แปลว่า ยินดีในความสำเร็จอันประเสริฐ
วรินทร อ่านว่า วะ-ริน-ทอน แปลว่า ผู้ประเสริฐและเป็นใหญ่
วรียะ อ่านว่า วะ-รี-ยะ แปลว่า ประเสริฐสุด
วเรณย์ อ่านว่า วะ-เรน แปลว่า ประเสริฐสุด
วลัช อ่านว่า วะ-ลัด แปลว่า ปลา
วัชรากร อ่านว่า วัด-ชะ-รา-กอน แปลว่า ขุมทรัพย์
วัชรินทร์ อ่านว่า วัด-ชะ-ริน แปลว่า เจ้าแห่งเพชร
วัฒนชัย อ่านว่า วัด-ทะ-นะ-ไช แปลว่า ชนะด้วยความเจริญ
วัณณุวรรธน์ อ่านว่า วัน-นุ-วัด แปลว่า ทางแห่งความเจริญ
วัทธิกร อ่านว่า วัด-ทิ-กอน แปลว่า ทำกำไร
วัทน์ อ่านว่า วัด แปลว่า การพูด ใบหน้า
วาริธร อ่านว่า วา-ริ-ทอน แปลว่า เมฆ
วิกรานต์ อ่านว่า วิ-กราน แปลว่า ผู้ก้าวไปข้างหน้า กล้าหาญ
วิชชากร อ่านว่า วิด-ชา-กอน แปลว่า สร้างความรู้
วิชชุกร อ่านว่า วิด-ชุ-กอน แปลว่า แสงสายฟ้า
วิชญ์ อ่านว่า วิด แปลว่า ผู้รู้ นักปราชญ์
วิชญะ อ่านว่า วิด-ชะ-ยะ แปลว่า นักปราชญ์
วิชวิทย์ อ่านว่า วิด-ทะ-วิด แปลว่า มีความรู้หลายอย่าง
วิชาธร อ่านว่า วิ-ชา-ทอน แปลว่า ผู้มีความรู้ทางเวทมนตร์ต่างๆ
วิชานนะ อ่านว่า วิ-ชาน-นะ แปลว่า ความเห็นจริง
วิชานาถ อ่านว่า วิ-ชา-นาด แปลว่า มีความรู้เป็นที่พึ่ง
วิชาฤทธิ์ อ่านว่า วิ-ชา-ริด แปลว่า สำเร็จด้วยความรู้
วิชิตชัย อ่านว่า วิ-ชิด-ไช แปลว่า ชัยชนะ
วิดรณ์ อ่านว่า วิ-ดอน แปลว่า ข้ามพ้นความทุกข์
วิทิต อ่านว่า วิ-ทิด แปลว่า ผู้คงแก่เรียน
วิทูร อ่านว่า วิ-ทูน แปลว่า ผู้ฉลาด
วิธวิทย์ อ่านว่า วิด-ทะ-วิด แปลว่า ผู้ฉลาด
วิธวินท์ อ่านว่า วิด-ทะ-วิน แปลว่า ได้สิ่งแปลก ๆ มีลาภเสมอ
วิธาน อ่านว่า วิ-ทาน แปลว่า กฎเกณฑ์ ระเบียบ
วินธัย อ่านว่า วิน-ไท แปลว่า ผลไม้ ชื่อภูเขา
วินิชา อ่านว่า วิ-นิ-ชา แปลว่า จำเก่ง
วินิทร อ่านว่า วิ-นิด แปลว่า ตื่นเสมอ ขยัน
วิรชัช อ่านว่า วิ-ระ-ชัด แปลว่า นักรบผู้กล้าหาญ
วิรัญจ์ อ่านว่า วิ-รัน แปลว่า ชื่อของพรหม
วิรัล อ่านว่า วิ-รัน แปลว่า บาง โปร่ง หายาก งาม
วิโรจน์ อ่านว่า วิ-โลด แปลว่า สว่าง
วิวรรธน์ อ่านว่า วิ-วัด แปลว่า ความเจริญรุ่งเรือง
วิวัฒน์ชัย อ่านว่า วิ-วัด-ไช แปลว่า มีความเจริญรุ่งเรืองและชัยชนะ
วิวิธชัย อ่านว่า วิ-วิด-ทะ-ไช แปลว่า มีชัยชนะหลายอย่าง
วิวิธวินท์ อ่านว่า วิ-วิด-ทะ-วิน แปลว่า ได้สิ่งแปลก ๆ ได้รับอยู่เสมอ
วีรชิต อ่านว่า วี-ระ-ชิด แปลว่า ชัยชนะของคนกล้า วีรบุรุษผู้พิชิต
วีรเดช อ่านว่า วี-ระ-เดด แปลว่า อำนาจของผู้กล้า
วีรยุทธ อ่านว่า วี-ระ-ยุด แปลว่า นักรบผู้กล้า
วีรวัฒน์ อ่านว่า วี-ระ-วัด แปลว่า ผู้เจริญด้วยความกล้า
วีรวุฒิ อ่านว่า วี-ระ-วุด แปลว่า เป็นใหญ่ด้วยความกล้าหาญ
วีรัช อ่านว่า วี-รัด แปลว่า เกิดจากผู้กล้าหาญ
วีรากร อ่านว่า วี-รา-กอน แปลว่า บ่อเกิดแห่งผู้กล้าหาญ
วุฒิกร อ่านว่า วุด-ทิ-กอน แปลว่า ผู้สร้างความเจริญ
วุฒิชัย อ่านว่า วุด-ทิ-ไช แปลว่า ชนะด้วยความเจริญ
วุฒิชาติ อ่านว่า วุด-ทิ-ชาด แปลว่า เกิดจากความเจริญ
วุฒิเดช อ่านว่า วุด-ทิ-เดด แปลว่า เจริญขึ้นด้วยอำนาจ
เวทิต อ่านว่า เว-ทิด แปลว่า ให้รู้
เวธน์ อ่านว่า เวด แปลว่า ปัญญาเฉียบแหลม
แว่นแก้ว อ่านว่า แว่น-แก้ว แปลว่า สะท้อนให้เห็นคุณค่า
ไวทย์ อ่านว่า ไว แปลว่า มีความรู้
ไวทิน อ่านว่า ไว-ทิน แปลว่า ผู้รู้
ไววิทย์ อ่านว่า ไว-วิด แปลว่า อำนาจ ความเจริญ
อจล อ่านว่า อะ-จน แปลว่า ไม่หวั่นไหว
อจลวิชญ์ อ่านว่า อะ-จะ-ละ-วิด แปลว่า มีความรู้ไม่หวั่นไหว
อชิระ อ่านว่า อะ-ชิ-ระ แปลว่า ผู้ว่องไว คล่องแคล่ว
อดิรถ อ่านว่า อะ-ดิ-รด แปลว่า นักรบเอ่น จอมทัพ
อดิรุจ อ่านว่า อะ-ดิ-รุด แปลว่า สง่างามยิ่ง
อดุลย์ อ่านว่า อะ-ดุน แปลว่า ไม่มีที่เปรียบ
อดุลวิทย์ อ่านว่า อะ-ดุน-วิด แปลว่า มีความรู้นับไม่ได้ รู้มากมาย
อติกันต์ อ่านว่า อะ-ติ-กัน แปลว่า น่ารักยิ่ง
อติคุณ อ่านว่า อะ-ติ-คุน แปลว่า มีคุณธรรมยิ่ง
อติชา อ่านว่า อะ-ติ-ชา แปลว่า เกิดมาเลิศกว่าพงศ์พันธุ์
อติชาติ อ่านว่า อะ-ติ-ชาด แปลว่า ผู้เกิดมาดี
อติรุจ อ่านว่า อะ-ติ-รุด แปลว่า ผู้สง่างามยิ่ง
อติวัณณ์ อ่านว่า อะ-ติ-วัน แปลว่า การสรรเสริญ ผู้มีตระกูลสูง
อติวิชญ์ อ่านว่า อะ-ติ-วิด แปลว่า นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้มีตระกูลสูง
อธิน อ่านว่า อะ-ทิน แปลว่า ผู้ว่าง่าย เชื่อฟัง
อธินาถ อ่านว่า อะ-ทิ-นาด แปลว่า ที่พึ่งอันยิ่งใหญ่
อธิยุต อ่านว่า อะ-ทิ-ยุด แปลว่า ขวนขวายยิ่ง หรือขยันขันแข็งยิ่ง
อธิวัฒน์ อ่านว่า อะ-ทิ-วัด แปลว่า ความเจริญที่ยิ่งใหญ่
อนณ อ่านว่า อะ-นน แปลว่า ผู้ไม่มีหนี้
อนรรฆ อ่านว่า อะ-นัก แปลว่า หาค่ามิได้ มีค่ามากมาย
อนล อ่านว่า อะ-นน แปลว่า ไฟ อัคนีเทพ
อนวัช อ่านว่า อะ-นะ-วัด แปลว่า ผู้ไม่มีที่ติ ไม่มีข้อเสียหาย
อนวัทย์ อ่านว่า อะ-นะ-วัด แปลว่า ไม่มีโทษ ไม่มีตำหนิ
อนังคณ์ อ่านว่า อะ-นัง แปลว่า ไม่มีกิเลศ ไม่มัวหมอง
อนัดดา อ่านว่า อะ-นัด-ดา แปลว่า ไม่ยึดถือ
อนันตชัย อ่านว่า อะ-นัน-ตะ-ไช แปลว่า ชัยชนะไม่มีที่สิ้นสุด
อนันยช อ่านว่า อะ-นัน-ยด แปลว่า เกิดมาเป็นที่หนึ่ง
อนาวิล อ่านว่า อะ-นา-วิน แปลว่า ไม่เศร้าหมอง ผ่องใส
อนิก อ่านว่า อะ-นิก แปลว่า กองทัพ
อนิรุทธ์ อ่านว่า อะ-นิ-รุด แปลว่า ผู้ชนะเสมอ
อนิวัต อ่านว่า อะ-นิ-วัด แปลว่า ผู้ไม่หวนกลับ สู่ความชั่ว
อนิวัตติ์ อ่านว่า อะ-นิ-วัด แปลว่า การไม่หวยกลับ สู่ความชั่ว
อนุชิต อ่านว่า อะ-นุ-ชิด แปลว่า ชนะเสมอ
อนุตร อ่านว่า อะ-นุด แปลว่า ผู้ประเสริฐ ยอดเยี่ยม
อนุทัต อ่านว่า อะ-นุ-ทัด แปลว่า มอบให้ อนุญาต
อนุทัย อ่านว่า อะ-นุ-ไท แปลว่า ความกรุณา ความใจดี
อนุนัย อ่านว่า อะ-นุ-ไน แปลว่า ความเป็นมิตร
อนุนาท อ่านว่า อะ-นุด-นาด แปลว่า เสียงกึกก้อง เสียงบันลือ
อนุยุต อ่านว่า อะ-นุ-ยุด แปลว่า ผู้ขวนขวาย ผู้ขยัน
อนุรักข์ อ่านว่า อะ-นุ-รัก แปลว่า รักษา คุ้มครอง
อนุวรรตน์ อ่านว่า อะ-นุ-วัด แปลว่า ประพฤติปฏิบัติตาม
อนุวรรธน์ อ่านว่า อะ-นุ-วัด แปลว่า เจริญตาม
อนุวัต อ่านว่า อะ-นุ-วัด แปลว่า ผู้ประพฤติตาม
อนุวิท อ่านว่า อะ-นุ-วิด แปลว่า รู้แจ้ง รู้ทะลุประโปร่ง
อรรจน์ อ่านว่า อัด แปลว่า เครื่องบูชา
อรรถนนท์ อ่านว่า อัด-ถะ-นน แปลว่า ผู้ยินดีในประโยชน์
อรรถวิท อ่านว่า อัด-ถะ-วิด แปลว่า ผู้รู้ข้อความ ผู้รู้หลักการ
อรรถวิทย์ อ่านว่า อัด-ถะ-วิด แปลว่า ผู้รู้หลักการ
อริชัย อ่านว่า อะ-หริ-ไช แปลว่า ผู้ชนะศัตรู
อริญชย์ อ่านว่า อะ-ริน แปลว่า ผู้ชนะศัตรู
อริญชัย อ่านว่า อะ-ริน-ไช แปลว่า ผู้ชนะศัตรู
อริย์ธัช อ่านว่า อะ-ริ-ทัด แปลว่า ธงของพระอริยะ เครื่องหมายอันประเสริฐ
อรุช อ่านว่า อะ-รุด แปลว่า ผู้ไม่โกรธ
อลงกฤต อ่านว่า อะ-ลง-กริด แปลว่า ตกแต่ง
อวัช อ่านว่า อะ-วัด แปลว่า ไม่มีโทษ ไม่มีที่ติ
อัคคเดช อ่านว่า อัก-คะ-เดด แปลว่า ความสง่างาม
อัคคัญญ์ อ่านว่า อัก-คัน แปลว่า สูงสุด
อัครชัย อ่านว่า อัก-คระ-ไช แปลว่า มีชัยอันประเสริฐ
อัครนิจ อ่านว่า อัก-คระ-นิด แปลว่า ประเสริฐเป็นนิตย์
อัครวินท์ อ่านว่า อัก-คระ-วิน แปลว่า ผู้ประสบสิ่งที่ล้ำเลิศ
อังควร อ่านว่า อัง-คะ-วอน แปลว่า ผู้มีรูปงาม
อัฑฒ์ อ่านว่า อัด แปลว่า ชายผู้ร่ำรวย
อัณณ์ อ่านว่า อัน แปลว่า แม่น้ำ ตัวหนังสือ
อัตถ์ อ่านว่า อัด แปลว่า เนื้อความ
อัทธ์ อ่านว่า อัด แปลว่า กาล เวลา ทาง ภาค
อัทธนีย์ อ่านว่า อัด-ทะ-นี แปลว่า เป็นไปตลอดกาลนาน อยู่ได้นาน
อันฑาการ อ่านว่า อัน-ทา-กาน แปลว่า รูปไข่
อันน์ อ่านว่า อัน แปลว่า ข้าว
อาจิต อ่านว่า อา-จิด แปลว่า สะสมแล้ว
อาชว์ อ่านว่า อาด แปลว่า ความซื่อตรง
อาชวิน อ่านว่า อาด-ชะ-วิน แปลว่า ผู้มีความซื่อตรง
อาชวี อ่านว่า อาด-ชะ-วี แปลว่า ผู้มีความซี่อตรง
อาชัญ อ่านว่า อา-ชัน แปลว่า บุรุษอาชาไนย หมยถึงคนที่ดียิ่ง
อาณกร อ่านว่า อา-นะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างอำนาจ
อาณัติ อ่านว่า อา-นัด แปลว่า การบังคับบัญชา
อาณันย์ อ่านว่า อา-นัน แปลว่า ความไม่มีหนี้
อานนท์ อ่านว่า อา-นน แปลว่า ความเพลิดเพลิน
อานัณย์ อ่านว่า อา-นัน แปลว่า ความไม่มีหนี้
อานัน อ่านว่า อา-นัน แปลว่า หน้า ปาก
อานันท์ อ่านว่า อา-นัน แปลว่า ความบันเทิง ความชื่นใจ
อายุทัย อ่านว่า อา-ยุ-ไท แปลว่า บ่อเกิดแห่งความสุข เต็มไปด้วยความสุข
อายุธ อ่านว่า อา-ยุด แปลว่า อาวุธ เครื่องรบ
อายุวัต อ่านว่า อา-ยุ-วัด แปลว่า มีอายุยืน
อารัทธ์ อ่านว่า อา-รัด แปลว่า เริ่มต้นแล้ว
อิงครัต อ่านว่า อิง-คะ-รัด แปลว่า ผู้ยินดีในความรู้
อิชย์ อ่านว่า อิด แปลว่า การบูชา ครู
อิฏฐา อ่านว่า อิด-ถา แปลว่า น่ารัก
อิทธิกร อ่านว่า อิด-ทิ-กอน แปลว่า ผู้สร้างความสำเร็จ
อิทธิชัย อ่านว่า อิด-ทิ-ไช แปลว่า ชนะด้วยฤทธิ์
อินทัช อ่านว่า อิน-ทัด แปลว่า เกิดจากผู้ยิ่งใหญ่ เกิดมาเพื่อยิ่งใหญ่
อุชุกร อ่านว่า อุ-ชุ-กอน แปลว่า คนซื่อตรงที่รุ่งเรือง ทำให้ตรง
อุทธิ อ่านว่า อุด-ธิ แปลว่า ทะเล
อุทัค อ่านว่า อุ-ทัก แปลว่า ผู้เบิกบานใจ
เอื้อการย์ อ่านว่า เอื้อ-กาน แปลว่า ค้ำจุนกิจการ
กรกวรรษ อ่านว่า กะ-หรก-วัด แปลว่า ฝนลูกเห็บ
กรทักษ์ อ่านว่า กอ-ระ-ทัก แปลว่า ถนัดมือ ทำการคล่องแคล่ว
กฤตลักษณ์ อ่านว่า กริด-ตะ-ลัก แปลว่า ประเสริฐ
กฤศ อ่านว่า กริด แปลว่า เล็ก บาง น้อย
กฤษกร อ่านว่า กริด-สะ-กอน แปลว่า สร้างเกียรติยศให้กับตัวเอง
กฤษฎ์ อ่านว่า กริด แปลว่า ข้าวกล้า
กฤษณ์ อ่านว่า กริด แปลว่า พระกฤษณะ ดำ
กลศ อ่านว่า กลด แปลว่า ภาชนะใส่น้ำเทพมนตร์ของพราหมณ์
ก่อฤกษ์ อ่านว่า ก่อ-เริก แปลว่า ริเริ่มให้เกิดมีเวลา หรือคราวภาวะที่ดี
กันตยศ อ่านว่า กัน-ตะ-ยด แปลว่า มียศเป็นที่รัก
คณัสนันท์ อ่านว่า คะ-นัด-สะ-นัน แปลว่า เป็นที่เพลิดเพลินของคณะ
ครองยศ อ่านว่า ครอง-ยด แปลว่า รักษาตำแหน่งไว้
จรส อ่านว่า จะ-รด แปลว่า แจ่มแจ้ง
จรัส อ่านว่า จะ-หรัด แปลว่า แจ่มแจ้ง
จรัสกร อ่านว่า จะ-หรัด-กอน แปลว่า จะ-หรัด-กอน
จรัสรัตน์ อ่านว่า จะ-หรัด-รัด แปลว่า แก้วที่มีแสงสว่างใส
ชนสรณ์ อ่านว่า ชะ-นะ-สอน แปลว่า เป็นที่พึงของคนทั้งหลาย
ชัยยศ อ่านว่า ไช-ยด แปลว่า มีชัยชนะและยศ
ณัฐยศ อ่านว่า นัด-ถะ-ยด แปลว่า นักปราชฐ์ผู้มีชื่อเสียง
ณัฐฤกษ์ อ่านว่า นัด-ถะ-เริก แปลว่า เวลาที่ดีของนักปราชญ์
ตรัส อ่านว่า ตรัด แปลว่า แจ้ง
ทักษ์ อ่านว่า ทัก แปลว่า ขยัน ฉลาด มีทักษะ
ทักษ์ดนัย อ่านว่า ทัก-ดะ-ไน แปลว่า บุตรชายผู้ฉลาด
ทัตสรวง อ่านว่า ทัด-สวง แปลว่า สวรรค์ประทานมา
ธยศ อ่านว่า ทะ-ยด แปลว่า มีความรู้เป็นยศ
ธรรศ อ่านว่า ทัด แปลว่า ความกล้าหาญ ความอหังการ
นฤสรณ์ อ่านว่า นะ-รึ-สอน แปลว่า เป็นที่พึ่งของคนทั้งหลาย
นันทยศ อ่านว่า นัน-ทะ-ยด แปลว่า มีความสุขและมียศ
ยงยศ อ่านว่า ยง-ยด แปลว่า มียศยั่งยืนนาน
ยศกร อ่านว่า ยด-สะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างยศ รุ่งเรืองด้วยยศ
ยศนันท์ อ่านว่า ยด-สะ-นน แปลว่า ยินดีในยศ
ยศวร อ่านว่า ยด-สะ-วอน แปลว่า มียศอันประเสริฐ
รหัท อ่านว่า ระ-หัด แปลว่า ทะเล
วงศธร อ่านว่า วง-สะ-ทอน แปลว่า ผู้ดำรงสกุล ผู้สืบสกุล
วงศ์วรรธน์ อ่านว่า วง-วัด แปลว่า ตระกูลผู้เจริญ
วนัสนันท์ อ่านว่า วะ-นัด-สะ-นัน แปลว่า ผู้เพลิดเลินในการท่องป่า
วรยศ อ่านว่า วอ-ระ-ยด แปลว่า มียศอันประเสริฐ
วรสรณ์ อ่านว่า วอ-ระ-สอน แปลว่า ที่พึ่งอันประเสริฐ
วัชสัณห์ อ่านว่า วัด-ชะ-สัน แปลว่า มีคำพูดไพเราะ
ศตรรฆ อ่านว่า สะ-ตัก แปลว่า มีค่ามาก
ศรณ์ อ่านว่า สอน แปลว่า ที่พึ่ง
ศรวัณ อ่านว่า สอ-ระ-วัน แปลว่า เดือนศรวัณ ตกราวเดือนกรกฏาคม-สิงหาคม
ศรันย์ อ่านว่า สะ-รัน แปลว่า อันเป็นที่พึ่ง
ศักย์ศรณ์ อ่านว่า สัก-สอน แปลว่า ผู้มีความสามารถเป็นที่พึ่ง
ศักรนันทน์ อ่านว่า สัก-กระ-นัน แปลว่า โอรสของพระอินทร์คือ พระอรชุน
สกลวรรธน์ อ่านว่า สะ-กน-วัด แปลว่า พร้อมด้วยความเจริญ
สนันตน์ อ่านว่า สะ-นัน แปลว่า นิรันดร ยิ่งยืนนาน
สรชัช อ่านว่า สอ-ระ-ชัด แปลว่า นักรบผู้วิเศษ
สรณ์ อ่านว่า สอน แปลว่า ที่พึ่ง ที่ระลึก
สรธร อ่านว่า สอ-ระ-ทอน แปลว่า ผู้ทรงไว้ซึ่งสิ่งวิเศษยิ่ง
สรธัญ อ่านว่า สอ-ระ-ทัน แปลว่า มีโชคดีอย่างวิเศษ
สรัช อ่านว่า สะ-รัด แปลว่า เกิดในสระ ดอกบัว
สรัล อ่านว่า สะ-รัน แปลว่า ต้นสน ซื้อตรง
สัณหณัฐ อ่านว่า สัน-หะ-นัด แปลว่า นักปราชญ์และผู้ละเอียดอ่อน นักปราชญ์ผู้ลึกซึ้ง
สัณหวัช อ่านว่า สัน-หะ-วัด แปลว่า พูดเพราะ พูดดี
สันต์ทศน์ อ่านว่า สัน-ทด แปลว่า มีทัศนะอันงดงาม
หทัยทัต อ่านว่า หะ-ไท-ทัด แปลว่า เป็นที่ถูกใจ
หรรษกร อ่านว่า หัด-สะ-กอน แปลว่า เกิดจากมือที่ทำให้บันเทิงเริงใจ
หรรษธร อ่านว่า หัน-สะ-ทอน แปลว่า ผู้มีความเบิกบานเป็นนิตย์
หรรษยศ อ่านว่า หัด-สะ-ยด แปลว่า ตำแหน่งที่น่าพอใจ
หรรษรักษ์ อ่านว่า หัด-สะ-รัก แปลว่า ความยินดีที่ควรรักษาไว้
หฤษฎ์ อ่านว่า หะ-ริด แปลว่า น่าชื่นชมยินดี
หัตถชัย อ่านว่า หัด-ถะ-ไช แปลว่า ชนะด้วยมือ
จรัสรวี อ่านว่า จะ-หรัด-ระ-วี แปลว่า สว่างไสวดุจพระอาทิตย์ รุ่งเรืองดุจพระอาทิตย์
จารุทัศน์ อ่านว่า จา-รุ-ทัด แปลว่า มีการเห็นหรือทัศนะงดงาม
จำรัส อ่านว่า จำ-หรัด แปลว่า รุ่งเรือง
จิตตวิสุทธิ อ่านว่า จิด-ตะ-วิ-สุด แปลว่า ความหมดจดของจิต
จิตรทวัส อ่านว่า จิด-ตระ-วัด แปลว่า วันอันแจ่มใส
จิตรทิวัส อ่านว่า จิด-ทิ-วัด แปลว่า วันอันแจ่มใส สวรรค์อันงดงาม
จิตรายศ อ่านว่า จิด-ตรา-ยด แปลว่า เหล็กดี
จิรสิน อ่านว่า จิ-ระ-สิน แปลว่า มีทรัพย์ตลอดกาลนาน
จิรัสย์ อ่านว่า จิ-รัด แปลว่า ตลอดกาลนาน หรือนิรันดร
จิรายุศ อ่านว่า จิ-รา-ยุด แปลว่า อายุยืน
เจษฎา อ่านว่า เจด-สะ-ดา แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ที่สุด
ชนิสร อ่านว่า ชะ-นิ-สอน แปลว่า เจ้าแห่งคนทั้งหลาย
ชเนศ อ่านว่า ชะ-เนด แปลว่า ที่พึ่งของคนคือ พระราชา
ชเยศ อ่านว่า ชะ-เยด แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ด้วยชัยชนะ จอมผู้พิชิต
ชเยส อ่านว่า ชะ-เยด แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ด้วยชัยชนะ
ชลธิศ อ่านว่า ชน-ละ-ทิด แปลว่า ทะเล
ชวิศ อ่านว่า ชะ-วิด แปลว่า เจ้าแห่งเชาวน์ปัญญา ผู้ที่มีไหวพริบเป็นยอด
ชวิศา อ่านว่า ชะ-วิ-สา แปลว่า เจ้าแห่งเชาวน์ปัญญา
ชัยศิริ อ่านว่า ไช-สิ-หริ แปลว่า ความส่งผ่าเผยด้วยชัยชนะ
ชัยสวัสดิ์ อ่านว่า ไช-สะ-หวัด แปลว่า มีชัยชนะและความสวัสดี
ชัยสิทธิ์ อ่านว่า ไช-ยะ-สิด แปลว่า สำเร็จด้วยชัยชนะ
ชินสีห์ อ่านว่า ชิน-นะ-สี แปลว่า ท่านผู้ชนะ
ชีวสาธน์ อ่านว่า ชี-วะ-สาด แปลว่า กำลังแห่งชีพ
ชุติศรณ์ อ่านว่า ชุ-ติ-สอน แปลว่า มีความรุ่งโรจน์เป็นที่พึ่ง
ญาณศรณ์ อ่านว่า ยา-นะ-สอน แปลว่า มีความรู้เป็นที่พึ่ง
ญาณสิริ อ่านว่า ยา-นะ-สิ-หริ แปลว่า มีมิ่งขวัญคือความรู้
ฐานัส อ่านว่า ถา-นัด แปลว่า โดยเร็ว แฉับพลัน รวดเร็ว โดยเหมาะสม
ฐิติวัสส์ อ่านว่า ถิ-ติ-วัด แปลว่า ยืนยาวตลอดปี
ณัฐทิศ อ่านว่า นัด-ทิด แปลว่า ทิศของนัดปราชญ์
ณัฐเศรษฐ อ่านว่า นัด-ถะ-เสด แปลว่า นักปราชญ์ผู้ร่ำรวย
ณัฐสิทธิ์ อ่านว่า นัด-ถะ-สิด แปลว่า ความสำเร็จของนักปราขญ์
ณัฐสุต อ่านว่า นัด-ถะ-สุด แปลว่า ลูกนักปราชญ์
ดนิษฐ์ อ่านว่า ดะ-นิด แปลว่า เล็ก
ดนุสรณ์ อ่านว่า ดะ-นุ-สอน แปลว่า มีคนเป็นที่พึ่ง พึ่งตน
ดิษย์ อ่านว่า ดิด แปลว่า เป็นมงคล
ดิสรณ์ อ่านว่า ดิ-สอน แปลว่า สรณะสามประการ
ตนิษฐ์ อ่านว่า ตะ-นิด แปลว่า เล็ก
ตนุสรณ์ อ่านว่า ตะ-นุ-สอน แปลว่า พึ่งตนเอง
ติณห์ อ่านว่า ติน แปลว่า กล้าแข็ง
ติสรณ์ อ่านว่า ติ-สอน แปลว่า สรณะสามประการ
เตชัส อ่านว่า เต-ชัด แปลว่า เดชหรืออำนาจ
ไตรทศ อ่านว่า ไตร-ทด แปลว่า สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ธนิษฐ์ อ่านว่า ทะ-นิด แปลว่า ชื่อดาวฤกษ์
ธนิสร อ่านว่า ทะ-นิด-สอน แปลว่า เจ้าแห่งทรัพย์
ธนุส อ่านว่า ทะ-นุด แปลว่า ธนู
ธเนศ อ่านว่า ทะ-เนด แปลว่า ร่ำรวย มีทรัพย์
ธรนิศ อ่านว่า ทอน-ระ-นิด แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ธาราวรรษ อ่านว่า ทา-รา-วัด แปลว่า ฝนจำนวนมาก
ธิติสรณ์ อ่านว่า ทิ-ติ-สอน แปลว่า พึ่งความเพียร ความอดทน ความรู้
ธิษณ์ อ่านว่า ทิด แปลว่า ฉลาด
ธีรศานต์ อ่านว่า ที-ระ-สาน แปลว่า กล้าหาญและสงบนิ่ง
ธีรสิทธิ์ อ่านว่า ที-ระ-สิด แปลว่า ผู้มีความสำเร็จ
ธีร์สุต อ่านว่า ที-สุด แปลว่า ลูกนักปราชญ์
นรเศรษฐ์ อ่านว่า นอ-ระ-เสด แปลว่า ผู้มีความมั่งคั่ง
นเรศ อ่านว่า นะ-เรด แปลว่า จอมคน
นันทิศ อ่านว่า นัน-ทิด แปลว่า เจ้าแห่งความสุข
นิธิศ อ่านว่า นิ-ทิด แปลว่า เจ้าแห่งขุมทรัพย์
นิศจัย อ่านว่า นิด-ไจ แปลว่า ตัดสินใจ ความประสงค์
นิษฐ์ อ่านว่า นิด แปลว่า สำเร็จ
นิสสรณ์ อ่านว่า นิด-สอน แปลว่า การสลัดตนเองออกจากความทุกข์
ยศธนะ อ่านว่า ยด-ทะ-นะ แปลว่า เกียรติยศเป็นทรัพย์
ยศวริศ อ่านว่า ยด-วะ-ริด แปลว่า ผู้เลิศด้วยยศ
ยสินทร อ่านว่า ยะ-สิน-ทอน แปลว่า เป็นใหญ่ด้วยยศ มียศ
ยิษฐา อ่านว่า ยิด-ถา แปลว่า ผู้ที่เขาบูชา
รเณศ อ่านว่า ระ-เนด แปลว่า จอมทัพ เจ้าแห่งการรบ
รดิศ อ่านว่า ระ-ดิด แปลว่า เจ้าแห่งความรัก ชื่อของกามเทพ
รวิสุต อ่านว่า ระ-วิ-สุด แปลว่า ลูกพระอาทิตย์ ดาวพระเสาร์
เลิศวรรธน์ อ่านว่า เลิด-วัด แปลว่า ความเจริญอย่างยิ่ง
วรายุส อ่านว่า วะ-รา-ยุด แปลว่า ผู้มีอายุอันประเสริฐ
วราศัย อ่านว่า วะ-รา-ไส แปลว่า มีที่พึ่งอันประเสริฐ
วริศ อ่านว่า วะ-ริด แปลว่า ประเสริฐและเป็นใหญ่
วริษ อ่านว่า วะ-ริด แปลว่า ฝน
วศิน อ่านว่า วะ-สิน แปลว่า ผู้มีอำนาจ
วสุ อ่านว่า วะ-สุ แปลว่า สมบัติ
วสุธร อ่านว่า วะ-สุ-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งสมบัติ ร่ำรวย
วสุธา อ่านว่า วะ-สุ-ทา แปลว่า แผ่นดิน
วสุนันท์ อ่านว่า วะ-สุ-นัน แปลว่า ยินดีในทรัพย์
วสุวี อ่านว่า วะ-สุ-วี แปลว่า ผู้มีทรัพย์
วัชริศ อ่านว่า วัด-ชะ-ริด แปลว่า เจ้าแห่งเพชร เจ้าแห่งสายฟ้า
วัทน์สิริ อ่านว่า วัด-สิ-หริ แปลว่า มีใบหน้างาม พูดเป็นเสน่ห์
วิทวัส อ่านว่า วิ-ทะ-วัด แปลว่า ผู้ฉลาด
วิวิศน์ อ่านว่า วิ-วิด แปลว่า งามอย่างวิเศษ
วิศรุต อ่านว่า วิ-สะ-รุด แปลว่า ผู้มีชื่อเสียงปรากฏ
วิศลย์ อ่านว่า วิ-สน แปลว่า ไม่มีทุกข์โศก
วิสสุต อ่านว่า วิด-สุด แปลว่า ผู้มีชื่อเสียงปรากฏ
วิสุทธิ์ อ่านว่า วิ-สุด แปลว่า สะอาดสดใส
วีรศรุต อ่านว่า วี-ระ-สะ-รุด แปลว่า มีชื่อเสียงว่าเป็นผู้กล้าหาญ
วีริศ อ่านว่า วี-ริด แปลว่า ยอดวีรบุรุษ ยอดผู้กล้า
เวทิศ อ่านว่า เว-ทิด แปลว่า ผู้คงแก่เรียน
ศดิศ อ่านว่า สะ-ดิด แปลว่า เป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย
ศตายุ อ่านว่า สะ-ตา-ยุ แปลว่า มีอายุยืน ๑๐๐ ปี
ศรัณยู อ่านว่า สะ-รัน-ยู แปลว่า ผู้คุ้มครอง ผู้ปกปักรักษา ลมฟ้าอากาศ
ศรันยู อ่านว่า สะ-รัน-ยู แปลว่า ผู้คุ้มครอง
ศรายุธ อ่านว่า สะ-รา-ยุด แปลว่า ผู้มีอาวุธคือลูกศร
ศราวิน อ่านว่า สะ-รา-วิน แปลว่า ผู้ฟัง สาวกที่ดีของพระศาสดา
ศราวุธ อ่านว่า สะ-รา-วุด แปลว่า ผู้มีศรเป็นอาวุธ
ศริตวรรธน์ อ่านว่า สะ-ริด-วัด แปลว่า บรรลุถึงความเจริญ
ศรุต อ่านว่า สะ-รุด แปลว่า มีชื่อเสียง
ศวิต อ่านว่า สะ-วิด แปลว่า ขาว
ศศวิษาณ อ่านว่า สะ-สะ-วิ-สาน แปลว่า สิ่งเหลือเชื่อ
ศาตนันท์ อ่านว่า สา-ตะ-นัน แปลว่า มีความสุขและความเพลิดเพลิน
ศาตนันทน์ อ่านว่า สา-ตะ-นัน แปลว่า มีความสุขและความเพลิดเพลิน
ศานิต อ่านว่า สา-นิด แปลว่า คม
ศาศวัต อ่านว่า สาด-สะ-วัด แปลว่า ยั่งยืน
ศาสวัต อ่านว่า สา-สะ-วัด แปลว่า นิรันดร ตลอดกาล
ศิรชัช อ่านว่า สิ-ระ-ชัด แปลว่า นักรบผู้ยอดเยี่ยม
ศิรวิทย์ อ่านว่า สิ-ระ-วิด แปลว่า ความรู้ชั้นยอด
ศิรสิทธิ์ อ่านว่า สิ-ระ-สิด แปลว่า มีความสำเร็จอันยอดเยี่ยม
ศิรัสธร อ่านว่า สิ-รัด-สะ-ทอน แปลว่า คอ
ศิริชัย อ่านว่า สิ-หริ-ไช แปลว่า มีชัยชนะที่เป็นมงคล
ศิลาดล อ่านว่า สิ-ลา-ดน แปลว่า แผ่นหิน
ศิวนาถ อ่านว่า สิ-วะ-นาด แปลว่า มีที่พึ่งอันประเสริฐ
ศิวเวท อ่านว่า สิ-วะ-เวด แปลว่า มนตร์สรรเสริญ
ศิวัช อ่านว่า สิ-วัด แปลว่า เกิดจากผู้ยิ่งใหญ่ ลูกพระศิวะ
ศีลวัต อ่านว่า สี-ละ-วัด แปลว่า มีความประพฤติดี
ศุจินธร อ่านว่า สุ-จิน-ทอน แปลว่า ทรงไว้ซึ่งความบริสุทธิ์สะอาด
ศุทธวีร์ อ่านว่า สุด-ทะ-วี แปลว่า ผู้บริสุทธิ์และกล้าหาญ
ศุทธา อ่านว่า สุด-ทา แปลว่า ผู้บริสุทธิ์
ศุวิล อ่านว่า สุ-วิน แปลว่า ลม อากาศ
เศรษฐนัย อ่านว่า เสรด-ถะ-ไน แปลว่า การประหยัด
เศรษฐา อ่านว่า เสด-ถา แปลว่า เจริญที่สุด
เศวตฉัท อ่านว่า สะ-เวด-ตระ-ฉัด แปลว่า ผู้มีปีกขาว
สดายุ อ่านว่า สะ-ดา-ยุ แปลว่า ชื่อพญานก
สรณ์สิริ อ่านว่า สอน-สิ-หริ แปลว่า มีที่พึ่งดียิ่ง พึ่งสิริมงคล
สรวิชญ์ อ่านว่า สอ-ระ-วิด แปลว่า ผู้มีอำนาจเหนือคนทั้งปวง ผู้เป็นใหญ่กว่าคนทั้งปวง
สรวิศ อ่านว่า สอ-ระ-วิด แปลว่า มีอำนาจเหนือคนทั้งปวง
สรศาสตร์ อ่านว่า สอ-ระ-สาด แปลว่า ตำราสงคราม
สรสิช อ่านว่า สอ-ระ-สิด แปลว่า เกิดในสระ ดอกบัว
สรายุทธ อ่านว่า สะ-รา-ยุด แปลว่า รบด้วยลูกศร
สราวุธ อ่านว่า สะ-รา-วุด แปลว่า มีลูกศรเป็นอาวุธ
สริต อ่านว่า สะ-ริด แปลว่า ผู้ที่เขาระลึกถึง สายน้ำ
สวิตต์ อ่านว่า สะ-วิด แปลว่า มีทรัพย์สมบัติ มีเงินทอง
สัญจิต อ่านว่า สัน-จิด แปลว่า สะสม รวบรวม
สัณฐิติ อ่านว่า สัน-ถิ-ติ แปลว่า ความมั่นคง
สัณหเจต อ่านว่า สัน-หะ-เจด แปลว่า มีความคิดละเอียดอ่อน
สันทนา อ่านว่า สัน-ทะ-นา แปลว่า การเปรียบเทียบ
สาทิส อ่านว่า สา-ทิด แปลว่า เห็นเหมือน
สาธิต อ่านว่า สา-ทิด แปลว่า ผู้ทำให้สำเร็จสมประสงค์
สาธิน อ่านว่า สา-ทิน แปลว่า ผู้ให้สำเร็จ ผู้ทำอะไรได้รับความสำเร็จ
สารท อ่านว่า สาด แปลว่า ฤดูใบไม้ร่วง เทศกาลเดือนสิบ
สารัช อ่านว่า สา-รัด แปลว่า เกิดมาเพื่อแก่นสาร
สาริทธิ์ อ่านว่า สา-ริด แปลว่า ความสำเร็จแห่งแก่นสาร
สาริน อ่านว่า สา-ริน แปลว่า ผู้ก้าวไปข้างหน้า ผู้มีแก่นสาร
สารินท์ อ่านว่า สา-ริน แปลว่า เจ้าแห่งสาระ
สาริศ อ่านว่า สา-ริด แปลว่า เจ้าแห่งแก่นสาร เจ้าแห่งสาระ
สิทธา อ่านว่า สิด-ทา แปลว่า ผู้สำเร็จแล้ว ผู้มีชื่อเสียง
สิทธิเดช อ่านว่า สิด-ทิ-เดด แปลว่า ผู้มีความสำเร็จและมีอำนาจ
สิทธินนท์ อ่านว่า สิด-ทิ -นน แปลว่า ยินดีในความสำเร็จ
สิทธิรัตน์ อ่านว่า สิด-ทิ-รัด แปลว่า ความสำเร็จที่ล้ำค่า
สินิทธ์ อ่านว่า สิ-นิด แปลว่า สนิทชิดเชื้อ
สิรดนัย อ่านว่า สิ-ระ-ดะ-ไน แปลว่า ลูกชายผู้เป็นยอด
สิรธีร์ อ่านว่า สิ-ระ-ที แปลว่า นักปราชญ์ชั้นยอด
สิรวิชญ์ อ่านว่า สิ-ระ-วิด แปลว่า นักปราชญ์ผู้เป็นยอด
สิริจรรยา อ่านว่า สิ-หริ-จัน-ยา แปลว่า ผู้มีความประพฤติอันเป็นสิริมงคล
สิริชัย อ่านว่า สิ-หริ-ไช แปลว่า ผู้มีชัยชนะอันงดงาม
สุตนันท์ อ่านว่า สุ-ตะ-นัน แปลว่า ผู้ยินดีในความรู้ที่ได้เรียนมา
สุทธดร อ่านว่า สุด-ทะ-ดอน แปลว่า ผู้บริสุทธิ์กว่าคนอื่น
สุทธวีร์ อ่านว่า สุด-ทะ-วี แปลว่า บริสุทธิ์และกล้าหาญ
สุทธิชัย อ่านว่า สุด-ทิ-ไช แปลว่า ชัยชนะอันหมดจด
สุทธินันท์ อ่านว่า สุด-ทิ-นัน แปลว่า เพลิดเพลินพอใจในความบริสุทธิ์
สุทธินัย อ่านว่า สุด-ทิ-ไน แปลว่า มีแนวทางอันบริสุทธิ์ มีนโยบายที่ดี
สุทธิรัตน์ อ่านว่า สุด-ทิ-รัด แปลว่า ความหมดจดผ่องใสเหมือนดวงแก้ว
สุทิวัส อ่านว่า สุ-ทิ-วัด แปลว่า วันดี วันเป็นสิริมงคล
สุธินันท์ อ่านว่า สุ-ทิ-นัน แปลว่า ความยินดีของนักปราชญ์
สุนิติ อ่านว่า สุ-นิ-ติ แปลว่า มีระเบียบกฏเกณฑ์ที่ดี
สุรชัช อ่านว่า สุ-ระ-ชัด แปลว่า นักรบผู้กล้า
สุรเชษฐ์ อ่านว่า สุ-ระ-เชด แปลว่า ผู้ประเสริฐกว่าเทวดาคือ พระพรหม
สุรดิษ อ่านว่า สุ-ระ-ดิด แปลว่า มีโชคดีเยี่ยม มีโชคดีเหมือนเทวดา
สุรทิน อ่านว่า สุ-ระ-ทิน แปลว่า เทพประทาน
สุรธัช อ่านว่า สุ-ระ-ทัด แปลว่า เป็นดุจธงชัยบนสวรรค์
สุรนาท อ่านว่า สุ-ระ-นาด แปลว่า บันลืออย่างกล้าหาญ เสียงองอาจกล้าหาญ
สุรวินท์ อ่านว่า สุ-ระ-วิน แปลว่า ดอกบัวงาม
สุวชัช อ่านว่า สุ-วะ-ชัด แปลว่า นักรบผู้ดีเยี่ยม
สุวินัย อ่านว่า สุ-วิ-ไน แปลว่า ว่านอนสอนง่าย
หาญ อ่านว่า หาน แปลว่า กล้า
หาญชัย อ่านว่า หาน-ไช แปลว่า เก่งอย่างมีชัยชนะ
หิรัญ อ่านว่า หิ-รัน แปลว่า เงินทอง
อณิษฐ์ อ่านว่า อนิด แปลว่า เล็กที่สุด
อดิศร อ่านว่า อะ-ดิ-สอน แปลว่า เป็นใหญ่ยิ่ง
อดิศวร อ่านว่า อะ-ดิ-สวน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง
อธิศ อ่านว่า อะ-ทิด แปลว่า ผู้เป็นใหญ่
อธิษฐ์ อ่านว่า อะ-ทิด แปลว่า ผู้น่าปรารถนายิ่ง หรือผู้ตั้งมั่น
อนลัส อ่านว่า อะ-นะ-ลัด แปลว่า ผู้ไม่เกียจคร้าน
อนันต์ยศ อ่านว่า อะ-นัน-ยด แปลว่า มียศหรือชื่อเสียงหาที่สุดมิได้
อนุทัศน์ อ่านว่า อะ-นุ-ทัด แปลว่า ความเห็น เห็นเนือง ๆ
อนุทิศ อ่านว่า อะ-นุ-ทิด แปลว่า ทิศน้อย ทิศเฉียง
อนุศิษฎ์ อ่านว่า อะ-นุ-สิด แปลว่า ผู้ได้รับการสั่งสอน
อรรถสาร อ่านว่า อัด-ถะ-สาน แปลว่า ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร
อรรถสิทธิ์ อ่านว่า อัด-ถะ-สิด แปลว่า ความสำเร็จในงานต่าง ๆ
อรุษ อ่านว่า อะ-รุด แปลว่า ผู้ไม่โกรธ
อวสร อ่านว่า อะ-วะ-สอน แปลว่า โอกาส
อศลย์ อ่านว่า อะ-สน แปลว่า ไม่มีทุกข์โศก
อสิต อ่านว่า อะ-สิด แปลว่า ผิวคล้ำ
อัศนี อ่านว่า อัด-สะ-นี แปลว่า สายฟ้า
อัษฎา อ่านว่า อัด-สะ-ดา แปลว่า แปดอย่าง
อัษฎาวุธ อ่านว่า อัด-สะ-ดา-วุด แปลว่า อาวุธ ๘ อย่าง
อิษฎี อ่านว่า อิด-สะ-ดี แปลว่า การบวงสรวง
โอสธี อ่านว่า โอ-สะ-ที แปลว่า ดาวประกายพรึก
ไอศูรณ์ อ่านว่า ไอ-สูน แปลว่า มีที่พึ่ง
ไอศูรย์ อ่านว่า ไอ-สูน แปลว่า อำนาจ
กณิศ อ่านว่า กะ-นิด แปลว่า รวงข้าว
กรศุทธิ์ อ่านว่า กอ-ระ-สุด แปลว่า ทำความบริสุทธิ์ การถูมือด้วยดอกไม้
กระแส อ่านว่า กระ-แส แปลว่า น้ำหรือลม ที่ไหลหรือพัดเรื่อย เป็นแนวทางไม่ขาดสาย
กฤษฎา อ่านว่า กริด-สะ-ดา แปลว่า กระทำแล้ว
กฤษฎิ์ อ่านว่า กริด แปลว่า ฉลาด
กฤษณะ อ่านว่า กริด-สะ-นะ แปลว่า พระกฤษณะ
กฤษดา อ่านว่า กริด-สะ-ดา แปลว่า อภินิหาร
กฤษิก อ่านว่า กริ-สิก แปลว่า ชาวนา
กฤษิกร อ่านว่า กริ-สิ-กอน แปลว่า เกษตรกร
กสานติ์ อ่านว่า กะ-สาน แปลว่า ความสงบ
กสิณ อ่านว่า กะ-สิน แปลว่า ทั้งหมด อุปกรณ์สำหรับเพ่งเพื่อให้เกิดสมาธิ
กสิน อ่านว่า กะ-สิน แปลว่า ทั้งหมด
ก่อกุศล อ่านว่า ก่อ-กุ-สน แปลว่า สร้างความดี
กันดิศ อ่านว่า กัน-ดิด แปลว่า เจ้าแห่งความรัก กามเทพ
กันต์ศักดิ์ อ่านว่า กัน-สัก แปลว่า มีศักดิ์เป็นที่รักเป็นที่น่าพอใจ
กานดิศ อ่านว่า กาน-ดิด แปลว่า เจ้าแห่งความรัก กามเทพ
กำแหง อ่านว่า กำ-แหง แปลว่า กล้าแข็ง
กิตติศักดิ์ อ่านว่า กิด-ติ-สัก แปลว่า ผู้มีอำนาจและความสามารถ
กุลิสร์ อ่านว่า กุ-ลิด แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในตระกูล
กุศล อ่านว่า กุ-สน แปลว่า สิ่งที่ที่ชอบ
กุศลิน อ่านว่า กุ-สะ-ลิน แปลว่า อยู่สุขสบาย ปลอดภัย
เกริกศักดิ์ อ่านว่า เกริก-สัก แปลว่า ผู้มีความสามารถเป็นที่เลื่องลือ
เกรียงศักดิ์ อ่านว่า เกรียง-สัก แปลว่า ผู้มีอำนาจ
เกียรติศักดิ์ อ่านว่า เกียด-ติ-สัก แปลว่า เกียรติตามฐานะ
โกศล อ่านว่า โก-สน แปลว่า ฉลาด
โกศัลย์ อ่านว่า โก-ลัน แปลว่า ความฉลาด
ไกรฤกษ์ อ่านว่า ไกร-เริก แปลว่า ระยะเวลาที่ยิ่งใหญ่
ไกรเลิศ อ่านว่า ไกร-เลิด แปลว่า เยี่ยมมาก
ไกรศร อ่านว่า ไกร-สอน แปลว่า สิงโต
ไกรศรี อ่านว่า ไกร-สี แปลว่า ผู้มีศักดิ์ศรี
ไกรศักดิ์ อ่านว่า ไกร-สัก แปลว่า ผู้มีความสามารถมาก
ไกรสร อ่านว่า ไกร-สอน แปลว่า สิงโต
ไกรสรี อ่านว่า ไกร-สี แปลว่า สิงโต
ไกรสิทธิ อ่านว่า ไกร-สิด แปลว่า ราชสีห์
คณิศร อ่านว่า คะ-นิด-สอน แปลว่า ผู้เป็นใหญ่กว่าหมู่คนทั้งหลาย
คณิสสร อ่านว่า คะ-นิด-สอน แปลว่า เป็นใหญ่กว่าคนทั้งหลาย
ครองศักดิ์ อ่านว่า ครอง-สัก แปลว่า รักษาตำแหน่งไว้
ครองสุข อ่านว่า ครอง-สุก แปลว่า ดำเนินอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข
คริษฐ์ อ่านว่า คะ-ริด แปลว่า ผู้ที่น่าบูชาที่สุด
ฐิติศักดิ์ อ่านว่า ถิ-ติ-สัก แปลว่า ความสามารถ
ณัฐศักดิ์ อ่านว่า นัด-ถะ-สัก แปลว่า ศักดิ์ของนักปราชญ์
ดลสุข อ่านว่า ดน-สุก แปลว่า ดลบันดาลความสุข
ทรงวศิน อ่านว่า ทรง-วะ -สิน แปลว่า ผู้ชนะด้วยตนเอง
ธนศักดิ์ อ่านว่า ทะ-นะ-สัก แปลว่า มีทั้งทรัพย์และอำนาจ
ธำรงศักดิ์ อ่านว่า ทำ-รง-สัก แปลว่า รักษาอำนาจไว้
ธิติศักดิ์ อ่านว่า ทิ-ติ-สัก แปลว่า ผู้มีความเพียร และอำนาจ
ธิติสรรค์ อ่านว่า ทิ-ต-สัน แปลว่า สร้างสรรค์ค์ความเพียร ความอดทน ความรู้
ธีรศักดิ์ อ่านว่า ที-ระ-สัก แปลว่า อำนาจของนักปราชญ์
ธีรักษ์ อ่านว่า ที-รัก แปลว่า ผู้ฉลาด
เนกษ์ อ่านว่า เนก แปลว่า แท่งทอง
ยงสุข อ่านว่า ยง-สุก แปลว่า มีสุขยั่งยืน
รักษิต อ่านว่า รัก-สิด แปลว่า ได้รับการคุ้มครอง
รุ่งรดิศ อ่านว่า รุ่ง-ระ-ดิด แปลว่า รุ่งโรจน์ดุจกามเทพ กามเทพผู้รุ่งเรือง
วนศักดิ์ อ่านว่า วะ-นะ-สัก แปลว่า อำนาจแห่งป่า พลังแห่งป่า
วัฒนศักดิ์ อ่านว่า วัด-ทะ-นะ-สัก แปลว่า มีความเจริญในเกียรติ
วิฆเนศ อ่านว่า วิ-คะ-เนด แปลว่า พระพิฆเณศ
วิธิสรรค์ อ่านว่า วิ-ทิ-สัน แปลว่า สร้างวิธีการ คิดหาวิธีการที่ดี
วิษณุสรรค์ อ่านว่า วิด-สะ-นุ-สัน แปลว่า วิษณุสร้างมา ลูกวิษณุ
วีรลักษณ์ อ่านว่า วี-ระ-ลัก แปลว่า ลักษณะของผู้กล้า
วุฒิศักดิ์ อ่านว่า วุด-ทิ-สัก แปลว่า มีความเจริญและอำนาจ
ศตคุณ อ่านว่า สะ-ตะ-คุณ แปลว่า ผู้มีความตั้งร้อย ผู้มีความรู้ดีมาก
ศรีสวรรค์ อ่านว่า สี-สะ-หวัน แปลว่า ผู้เป็นมิ่งขวัญบนสวรรค์
ศลาฆนันท์ อ่านว่า สลาก-นัน แปลว่า ยินดีการสรรเสริญ
ศักดา อ่านว่า สัก-ดา แปลว่า ผู้มีอำนาจ
ศักดากร อ่านว่า สัก-ดา-กอน แปลว่า ผู้มีอำนาจ
ศักดินนท์ อ่านว่า สัก-ดิ-นน แปลว่า ยินดีในอำนาจ
ศักดิ์นันท์ อ่านว่า สัก-ดิ-นัน แปลว่า ยินดีในอำนาจ
ศากวร อ่านว่า สาก-กะ-วะ-ระ แปลว่า แข็งแรง
ศิงขร อ่านว่า สิง-ขอน แปลว่า ภูเขา
ศิวกร อ่านว่า สิ-วะ-กอน แปลว่า ผู้สร้างสิ่งประเสริฐ ผู้สร้างสิ่งเป็นมงคล
ศีกร อ่านว่า สี-กอน แปลว่า ฝน
ศึกษิต อ่านว่า สึก-สิด แปลว่า ผู้เป็นปัญญาชน
ศุกล อ่านว่า สุ-กน แปลว่า ขาวงาม
ศุกลกานต์ อ่านว่า สุ-กน-ละ-กาน แปลว่า ผู้บริสุทธิ์และเป็นที่รัก
สขิล อ่านว่า สะ-ขิน แปลว่า นุ่มนวล อ่อนหวาน
สถิตคุณ อ่านว่า สะ-ถิด-คุณ แปลว่า มีความดีมั่นคง
สริกข์ อ่านว่า สะ-ริก แปลว่า เห็นสม คล้ายคลึง
สังสิต อ่านว่า สัง-สิด แปลว่า อันเขาสรรเสริญแล้ว ได้รับการสรรเสริญ
สาธิก อ่านว่า สา-ทิก แปลว่า ผู้ให้สำเร็จประโยชน์ สำเร็จสมประสงค์
สาริกข์ อ่านว่า สา-ริก แปลว่า คล้ายคลึง แม้นเหมือน
สิงหนาท อ่านว่า สิง-หะ-นาด แปลว่า บันลือสิงหนาท
สิทธิกร อ่านว่า สิด-ทิ-กอน แปลว่า ผู้ทำสำเร็จ
สิทธิศักดิ์ อ่านว่า สิด-ทิ-สัก แปลว่า ผู้มีความสำเร็จและความสามารถ
สุกนต์ธี อ่านว่า สุ-กน-ที แปลว่า มีปัญญาเป็นที่น่าปรารถนายิ่ง
สุกฤต อ่านว่า สุ-กริด แปลว่า ทำมาดี สร้างมาดี
สุกฤษฎิ์ อ่านว่า สุ-กริด แปลว่า นักปราชญ์ที่ดี
สุกัลย์ อ่านว่า สุ-กัน แปลว่า ผู้มีความสามารถดี
สุขิต อ่านว่า สุ-ขิด แปลว่า ผู้มีความสุข
สุขิตกุล อ่านว่า สุ-ขิด-กุน แปลว่า ตระกูลที่มีความสุข
สุรกานต์ อ่านว่า สุ-ระ-กาน แปลว่า แก้วมีค่า
สุริยวงศ์ อ่านว่า สุ-ริ-ยะ-วง แปลว่า สกุลกษัตริย์
เสกข์ อ่านว่า เสก แปลว่า นักศึกษา
หรรษกานต์ อ่านว่า หัด-สะ-กาน แปลว่า ร่าเริงและน่ารัก
หัตถยารักษ์ อ่านว่า หัด-ถะ-ยา-รัก แปลว่า มีน้ำใจงามน่าทำนุรักษาไว้
อกนิษฐ์ อ่านว่า อะ-กะ-นิด แปลว่า พรหมชั้นที่หก
อกฤษณ์ อ่านว่า อะ-กริด แปลว่า สูงสุด
อกัณห์ อ่านว่า อะ-กัน แปลว่า ไม่ดำ ขาว
อดิลักษณ์ อ่านว่า อะ-ดิ-ลัก แปลว่า มีลักษณะงาม
อนุรักษ์ อ่านว่า อะ-นุ-รัก แปลว่า รักษา
อนุสิกข์ อ่านว่า อะ-นุ-สิก แปลว่า ศึกษาตาม ศึกษาอยู่เสมอ
อุกฤษฎ์ อ่านว่า อุก-กริด แปลว่า ประเสริฐสุด
เอกวัส อ่านว่า เอก-กะ-วัด แปลว่า มีอำนาจแต่ผู้เดียว
กฤษฎาญ อ่านว่า กริด-สะ-ดาน แปลว่า ที่ทำแล้ว
กวิเชษฐ์ อ่านว่า กะ-วิ-เชด แปลว่า กวีผู้เป็นใหญ่
ขจรศักดิ์ อ่านว่า ขะ-จอน-สัก แปลว่า ความรุ่งเรือง
จงสุทธา อ่านว่า จง-สุด-ทา แปลว่า ให้ขาวสะอาด
จรูญศักดิ์ อ่านว่า จะ-รูน-สัก แปลว่า ผู้รุ่งเรืองด้วยอำนาจ
จำรูญศักดิ์ อ่านว่า จำ-รูน-สัก แปลว่า ผู้มีอำนาจรุ่งเรือง
จิระศักดิ์ อ่านว่า จิ-ระ-สัก แปลว่า ผู้มีศักดิ์ตลอดกาล
เจริญศักดิ์ อ่านว่า จะ-เริน-สัก แปลว่า เจริญด้วยอำนาจ
เจษฎากร อ่านว่า เจด-สะ-ดา-กอน แปลว่า ผู้มีความตั้งใจที่ดี
ชิติสรรค์ อ่านว่า ชิ-ติ-สัน แปลว่า สร้างชัยชนะ
รุจิสรรค์ อ่านว่า รุ-จิ-สัน แปลว่า สร้างความงาม
ศักดิธัช อ่านว่า สัก-ดิ-ทัด แปลว่า มีความเข้มแข็งเป็นเลิศ
ศักรชาต อ่านว่า สัก-กระ-ชาด แปลว่า มีกำเนิดแต่พระอินทร์
ศานติกร อ่านว่า สาน-ติ-กอน แปลว่า ให้ความเจริญ
สวรรค์ชิด อ่านว่า สะ-หวัน-ชิด แปลว่า ได้สวรรค์
สัชฌุกร อ่านว่า สัด-ชุ-กอน แปลว่า ช่างเงิน
สุชาครีย์ อ่านว่า สุ-ชา-ครี แปลว่า มีความเพียรอย่างยิ่ง มีความตื่นตัวตลอดเวลา
สุรชาติ อ่านว่า สุ-ระ-ชาด แปลว่า ความกล้าหาญ
สุวิจักขณ์ อ่านว่า สุ-วิ-จัก แปลว่า ผู้เฉียบแหลมยิ่ง ผู้ฉลาดยิ่ง
อังศุชวาล อ่านว่า อัง-สุ-ชะ-วาน แปลว่า รุ่งเรืองไปด้วยรัศมี โชติช่วง
อ่านว่า แปลว่า
อ่านว่า แปลว่า
อ่านว่า แปลว่า
อ่านว่า แปลว่า